Page 167 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 167

Patterns) การจัดการ กับความเครียด (Stress Management) การบรรลุเป้าหมาย
        ชีวิตได้อย่างเต็มศักยภาพของตนเอง (Self-actualization) จุดมุ่งหมายในชีวิต
        (Sense of Purpose) สัมพันธภาพกับคนอื่นๆ การควบคุมสภาวะแวดล้อม

        (Environment Control) และการใช้ระบบบริการทางสุขภาพ ซึ่งต่อมา Walker
        และคณะได้ร่วมกันพัฒนาแบบการวัด แบบแผนการด�าเนินชีวิตที่ส่งเสริมสุขภาพ
        จากที่มีอยู่เดิม ประกอบด้วยค�าถาม 100 ข้อ เหลือ 48 ข้อ จากพฤติกรรม
        การส่งเสริมสุขภาพที่เหลือเพียง 6 ด้าน ได้แก่ การบรรลุเป้าหมายชีวิตได้อย่างเต็ม
        ศักยภาพของตนเอง (Self-actualization) ความรับผิดชอบต่อสุขภาพ (Health
        Responsibility) การออกก�าลังกาย (Exercise) โภชนาการ (Nutrition) การช่วยเหลือ
        พึ่งพาระหว่างกัน (Interpersonal Support)และการจัดการกับความเครียด
        (Stress Management) ต่อมา Pender ได้น�าเสนอรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ
        ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่อีก โดยรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพที่ปรับปรุงใหม่นี้
        แตกต่างจากรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพในปี ค.ศ.1987 ซึ่งจากการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม
        Pender ได้ปรับปรุงและคัดปัจจัยด้านการรู้คิดและการรับรู้ ในด้านความส�าคัญต่อ

        สุขภาพ การรับรู้การควบคุมสุขภาพ ค�าจ�ากัดความของสุขภาพคงไว้เพียงการรับรู้
        ความสามรถในตนเอง การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ และการรับรู้
        อุปสรรคของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ อิทธิพลระหว่างบุคคล อิทธิพลด้านสถานการณ์
        และเพิ่มตัวแปร 3 ตัว คือ ความรู้สึกเกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ความตั้งใจ
        ที่จะกระท�าตามแผนที่ก�าหนด และการแข่งขัน กระท�าในเรื่องที่ต้องท�าและเรื่องที่ชอบ
        ในทันทีทันใด ทั้งนี้เนื่องจากทฤษฎีความคาดหวังและทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
        สภาพแวดล้อม (อิทธิพลระหว่างบุคคล และอิทธิพลด้านสถานการณ์) และพฤติกรรม
        ดั้งเดิม (อิทธิพลด้านพฤติกรรม) มีผลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพทั้งโดยตรงและ
        โดยอ้อม นอกจากนี้ Pender ยังได้คัดตัวชี้แนะการกระท�าออกด้วย เนื่องจากพบว่า
        เป็นตัวกระตุ้นที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ซึ่งท�าให้มีความยากล�าบากในการประเมิน
        พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพที่ปรับปรุงใหม่นี้ได้มีการปรับ
        เปลี่ยนต�าแหน่งและรูปแบบของปัจจัยต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมในการประเมิน
        พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากขึ้น ดังแสดงใน แผนภูมิที่ 2 รูปแบบการส่งเสริม
        สุขภาพ Pender ที่ปรับปรุงใหม่ (Pender, 1996) ประกอบด้วยมโนทัศน์ หลัก

        3 มโนทัศน์ คือ



       166   พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172