Page 314 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 314

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

                    เกณฑ์คัดเข้า
                    กลุ่มตัวอย่�ง คือเย�วชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชนพระนครศรีอยุธย�
            ซึ่งสมัครใจเข้�ร่วมกิจกรรมสร้�งสุขภ�วะ 4 ด้�น คือ ก�รบริโภคอ�ห�ร ก�รออกกำ�ลังก�ย
            ก�รจัดก�รคว�มเครียดเหม�ะสม ก�รลด ละ เลิกบุหรี่และก�รจัดสิ่งแวดล้อม
            ปลอดบุหรี่ โดยประช�กรมีอ�ยุระหว่�ง 17 - 21 ปี ได้รับก�รตรวจคัดกรองโรค
            COVID-19 และไม่มีโรคหรือคว�มเจ็บป่วยเป็นอุปสรรคในก�รร่วมกิจกรรม

            โดยกลุ่มตัวอย่�งมีจำ�นวน 33 คน ซึ่งเป็นเย�วชนทั้งหมดที่อยู่ในศูนย์ฝึกและ
            อบรมเด็กและเย�วชนพระนครศรีอยุธย�เนื่องจ�กเย�วชนทุกคนสนใจเข้�ร่วม
            กิจกรรมนี้ สำ�หรับก�รปฏิบัติกิจกรรมก�รส่งเสริมสุขภ�วะที่ 4 ด้�น สอดคล้องกับ
            กิจกรรมก�รดูแลที่ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชนพระนครศรีอยุธย�จัดให้แก่
            เย�วชน
                    เกณฑ์คัดออก
                    1)  มีโรคประจำ�ตัว คว�มเจ็บป่วย หรือข้อจำ�กัดที่ไม่ส�ม�รถเข้�ร่วม

            กิจกรรมได้ครบทุกกิจกรรม
                    2)  ขอถอนตัวจ�กก�รเข้�ร่วมกิจกรรม


            เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
                    เครื่องมือที่ใช้ในก�รวิจัยครั้งนี้ คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนตัวและแบบ

            ประเมินพฤติกรรมสุขภ�พเด็กและเย�วชน โปรแกรมก�รส่งเสริมสุขภ�วะ 4 ด้�น
            แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
                    แบบบันทึกข้อมูลส่วนตัว จำ�นวน 9 ข้อ
                    แบบประเมินพฤติกรรมสุขภ�พ ประกอบด้วย 5 แบบสอบถ�ม ได้แก่
                    1)  แบบสอบถ�มพฤติกรรมก�รบริโภคอ�ห�ร จำ�นวน 46 ข้อ ประกอบด้วย
            พฤติกรรมก�รบริโภคอ�ห�รทั่วไป คว�มชอบในก�รบริโภคอ�ห�รและก�รตระหนัก
            รู้ถึงพฤติกรรมก�รบริโภคต่อภ�วะสุขภ�พ

                    2)  แบบสอบถ�มพฤติกรรมก�รออกกำ�ลังก�ย จำ�นวน 24 ข้อ โดยข้อ
            คำ�ถ�มประยุกต์จ�กแบบประเมินก�รออกกำ�ลังก�ย และแบบวัดกิจกรรมท�งก�ย


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   313
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   309   310   311   312   313   314   315   316   317   318   319