Page 450 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 450
โครงการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชน
ในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านอุเบกขา
หลักการและเหตุผล
ก�รเสริมสร้�งสุขภ�พแบบองค์รวม เพื่อให้มีคุณภ�พชีวิตที่ดี โดยเน้นก�ร
ส่งเสริมทั้งสุขภ�พก�ยและจิต องค์ประกอบของสุขภ�พที่ดี ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภ�พ
ก�รดูแลสุขภ�พตนเองแบบบูรณ�ก�ร โภชน�ก�ร ก�รเสริมสร้�งภูมิคุ้มกัน สุขน�มัย
ก�รพัฒน�สมรรถนะท�งก�ย ก�รออกกำ�ลังก�ยเพื่อพัฒน�บุคลิกภ�พ จิตใจ และอ�รมณ์
ก�รป้องกันและแก้ไขปัญห�สุขภ�พจิต ก�รฝึกสติ สม�ธิ และก�รทำ�คว�มเข้�ใจชีวิต
ก�รดำ�เนินชีวิตอย่�งบุคคลที่มีสุขภ�พดีต�มนิย�มของ WHO ข้อมูลจ�กกระทรวงส�ธ�รณสุข
บอกว่� กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นส�เหตุของก�รเสียชีวิตไม่น้อยกว่� 36 ล้�นคน
ทั่วโลกในแต่ละปี สำ�หรับประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจ�กโรคไม่ติดต่อเรื้อรังประม�ณ
320,000 คนต่อปี เฉลี่ยชั่วโมงละ 37 คน อันดับหนึ่ง คือโรคหลอดเลือดสมองคิดประม�ณ
28,000 คน รองลงม�คือโรคหัวใจข�ดเลือด โรคท�งเดินห�ยใจอุดกั้นเรื้อรัง เบ�หว�น
และคว�มดันโลหิตสูง ต�มลำ�ดับ ส�เหตุส่วนใหญ่เกิดจ�กก�รรับประท�นอ�ห�รที่มี
รสหว�น มัน เค็ม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ มีกิจกรรมท�งก�ยไม่เพียงพอ
โดยมีแนวโน้มก�รเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ส่วนม�กเป็นกลุ่มประช�กรวัยทำ�ง�น ส่งผลกระทบต่อ
ก�รเจริญเติบโตท�งเศรษฐกิจ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเกิดจ�กพฤติกรรมสุขภ�พที่สะสม
ซึ่งอ�จจะไม่มีอ�ก�รปร�กฏตอนนี้แต่เมื่อเวล�ผ่�นไป 5 - 10 ปี อ�จมีผลต่อสุขภ�พได้
วิธีก�รดูแลตัวเองให้ห่�งไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ส�ม�รถทำ�ได้ด้วยหลัก 3อ. 2ส. คือ
1 อ.อาหาร
คือ กินอ�ห�รที่สะอ�ดปร�ศจ�กส�รปนเปื้อน เช่น อ�ห�รหมักดอง อ�ห�รที่ใส่
สีฉูดฉ�ด หรืออ�ห�รแปรรูป อ�ห�รปิ้งย่�งแบบไหม้เกรียม หลีกเลี่ยงอ�ห�รที่ใช้นำ้�มันซำ้�
หล�ย ๆ ครั้ง กินผักหล�กสีและผลไม้สดอย่�งน้อยวันละ 400 กรัม ซึ่งจะมีส�รต้�นอนุมูล
อิสระ และมีเส้นใยช่วยป้องกันมะเร็งในระบบท�งเดินอ�ห�ร
2 อ.ออกก�าลังกาย
อย่�งน้อยวันละ 30 น�ที สัปด�ห์ละ 5 วัน ออกม�วิ่งเบ� ๆ หรือ แกว่งแขนลด
พุง ลดโรค ก็ได้นะ เพื่อให้ร่�งก�ยแข็งแรง เพิ่มภูมิต้�นท�งโรค
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 449
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research