Page 35 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 35

การมีส‹วนร‹วมและการยอมรับ 32
                                                                                                     บทที่ 2

                                                                                               ของกลุ‹มเป‡าหมาย



                       จากการลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อพูดคุยสอบถามเกี่ยวกับความตองการรับความชวยเหลือ

                ของคนพิการในชุมชนพบวา ผูพิการสวนมากจะเริ่มตนขอความชวยเหลือจากคนพิการดวยกันเอง
 2
                ซึ่งอาจอยูในรูปแบบขององคกรคนพิการ ดวยเหตุผลในการสื่อสารที่มีการพูดคุยแลวเขาใจซึ่งกัน

                และกัน ความสะดวกในการขอรับบริการเนื่องจากบอยครั้งไดมีการเขาเยี่ยมบาน ดังนั้นหนึ่งในผูที่

                จะสามารถใหบริการในศูนยบริการคนพิการที่มีความเขาใจไดดีที่สุดคือ “คนพิการ” หรือ

                “ผูที่ดูแลคนพิการ” (อาดัม นีละไพจิตร และคณะ 2556) และเปนการกระตุนใหคนพิการไดเกิด

                การสรางพลังอำนาจในตนเอง








 4







































                                      ภาพที่ 21 แลกเปลี่ยนมุมมองของผูŒที่มีประสบการณในการทํางานกับคนพ�การ

                       จากกระบวนการการมีสวนรวมดังกลาว นำมาสูการออกแบบเครื่องมือที่จะนำไปสูการ

                เปลี่ยนแปลงสมรรถนะในตัวบุคคล โดยไดรับความรวมมือจาก องคกรที่พัฒนาทักษะคนพิการ

                สถานประกอบการเอกชน และหนวยงานภาครัฐ เครือขายองคกรคนพิการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ

                กับนโยบายการจางงานคนพิการ ที่เปนผูรวมใหขอมูล และเปนพื้นที่กรณีศึกษาสถานการณที่

                เกิดขึ้นจริงในสังคม ซึ่งเกิดจากรูปแบบการใหบริการ กลไกของกฎหมาย นโยบายของประเทศ

                และการเห็นความสำคัญของคนพิการความพิการ ซึ่งจะกลาวถึงในบทตอไป
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40