Page 35 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 35

หลังฉำกเศรษฐกิจ



                                      คือชีวิตแรงงำน



            03 ข้ำมชำติ








                                   โดยเริ่มงานเป็นครูอาสาสมัครในศูนย์เรียนรู้ลูกแรงงาน
                                   ข้ามชาติ สอนหนังสือให้เด็กลูกแรงงานชาวเมียนมา ซึ่ง

                                   ไม่ต่างจากการเป็นครูเสริมที่เคยทำาสมัยยังอยู่ที่หมู่บ้าน



                 “พลอย”            ชีวิตของ “พลอย” ผูกพันกับความเป็นแรงงานข้ามชาติ
              เป็นชื่อไทยของ       มาตั้งแต่เกิด เธอลืมตาดูโลกที่เมืองไทยเมื่อ 41 ปีก่อน
            ธิตา อู (Thitar Oo)    ในครอบครัวชาวมอญที่อพยพเข้ามาทำางานในจังหวัด
             เจ้าหน้าที่ภาคสนาม    สมุทรสงคราม เมื่ออายุ 6 ขวบแม่ส่งเธอกลับไปอยู่กับยาย
             ของมูลนิธิรักษ์ไทย    ที่หมู่บ้านในจังหวัดเย หลังจากนั้นขาดการติดต่อกัน
             ปัตตานี ผู้เข้ามาเป็น  จนกระทั่งอายุ 25 แม่จึงได้เขียนจดหมายบอกให้เธอ
             อาสาสมัคร ตั้งแต่     เข้ามาทำางานที่ปัตตานี
                  ปี 2549

                                   ด้วยความรู้ที่จบ  ม.3  แล้วไม่ได้เรียนต่อเพราะฐานะ
                                   ทางบ้านไม่เอื้ออำานวย  พลอยออกจากโรงเรียนมาทำางาน

                                   กรีดยางและสอนพิเศษ  ส่วนแม่นั้นทำางานคัดแยกปลา
                                   ในอุตสาหกรรมประมงต่อเนื่องในปัตตานี  จนเวลาผ่านไป
                                   เกือบ 20 ปี จึงได้มีจดหมายมาแจ้งว่ารักษ์ไทยต้องการครู
                                   สอนเด็ก  และประสานงานกับนายหน้าให้ช่วยพาข้ามแดน

                                   เข้ามาทางระนอง

                                                               ผู้หญิงก้าวเดิน  33
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40