Page 36 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 36

แน่นอนว่านั่นเป็นการเดินทางเข้ามาอย่างแรงงานผิดกฎหมาย พลอยในวัย 25 ปี
        ไม่รู้ว่าการเดินทางจะเป็นอย่างไร รู้เพียงแต่ว่าจะได้เจอหน้าแม่ และได้มาทำางาน



        “จากหมู่บ้านออกมาทางจังหวัดเย แล้วข้ามมาไทยทางเกาะสอง โดยลงเรือมาขึ้นฝั่ง
        ที่ระนอง ต้องเดินป่าแถวนั้น กินนอนในป่าสองสามวัน เพื่อหลบเลี่ยงด่านไม่ให้ถูกตรวจ
        จากนั้นก็ต่อรถกระบะและรถตู้มาส่งที่ชุมชนที่แม่อยู่ รวมเวลา 10 วันในการเดินทาง
        ตอนลงเรือก็มีคลุมผ้ายาง ในรถมีคน 10 คน 20 คนนอนทับกัน มีคนอาเจียนใส่ด้วย”



        พลอยเล่าถึงการเดินทางออกจากหมู่บ้านเพียงลำาพัง  แล้วมารวมตัวกับผู้หญิงอีกหลายคน
        จากหมู่บ้านอื่นที่จังหวัดเย เมื่อถึงฝั่งไทยแล้วต่างก็แยกย้ายไปตามทาง พลอยถูกส่งมา
        ปัตตานีคนเดียว ส่วนคนอื่นไปสุราษฎร์ธานี



        ช่วงแรกพลอยเป็นครูอาสาสอนภาษาอังกฤษให้เด็กลูกแรงงานชาวเมียนมา ซึ่งเป็นงานในฝัน
        ของพลอยที่อยากเป็นครูอยู่แล้ว และจากประสบการณ์ในการเป็นครูทั้งสองแห่ง พลอยเห็น
        ความแตกต่างของเด็ก
        เมียนมาที่อยู่ต่างพื้นที่กันว่า   “เด็กที่ในพม่าอยู่ในกรอบ ถูกสั่งห้าม
                                        เหมือนเด็กที่ไม่ทันสมัย ถูกเลี้ยงแบบ
                                   ถูกตี ใช้ความรุนแรง เรื่องโภชนาการได้รับ
        พลอยเป็นครูอยู่ได้ 2 ปี   ค่อนข้างน้อย กินอาหารอย่างเดียว ไม่ครบห้าหมู่
        จึงได้ไปช่วยงานอื่น  เช่น   แต่เด็กพม่าที่โตในไทยจะออกนอกกรอบ ฉลาดกว่า

        โครงการฟ้ามิตรที่ทำางาน  ดื้อกว่า กล้าพูดกล้าอะไร เข้าถึงเรื่องอาหาร ได้กินนม
        ป้องกันเอชไอวี  มาลาเรีย   กินไข่ กินผัก เด็กที่โน่นกินอาหารอย่างเดียว
        วัณโรค  อบรมให้ความรู้   ไข่ต้มหนึ่งใบ เด็กที่นี่ต้องมีผัดผัก มีไก่ทอด”
        แก่แรงงานข้ามชาติ ต่อมา
        จึงเป็นงานเกี่ยวกับสิทธิ

        ของแรงงานข้ามชาติ ทั้งด้านสุขภาพและสิทธิในการทำางาน


        ทุกวันนี้พลอยใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี  ทั้งอ่าน  เขียน  และพูดได้อย่างชัดเจน

        โดยการฝึกฝนหัดเรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ 2-3 ปี เริ่มจากซื้อหนังสือแบบเรียน ก.ไก่
        34  ผู้หญิงก้าวเดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41