Page 38 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 38
แต่ไร้ซึ่งระบบการดูแลอย่างที่ควรจะเป็น มูลนิธิรักษ์ไทยเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน
ที่ให้ความสำาคัญกับชีวิตของแรงงานข้ามชาติมาตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นองค์การ
แคร์นานาชาติ โดยในราวปี พ.ศ. 2538 เริ่มทำางานด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
และอนามัยเจริญพันธุ์ ซึ่งในช่วงนั้นไทยมีปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์อย่างมาก
ประกอบกับยังไม่มีหน่วยงานใดที่ทำางานกับแรงงานข้ามชาติโดยตรง ซึ่งเป็นกลุ่มที่มี
การติดเชื้อเอชไอวีสูงสุดในแรงงานประมง ภาครัฐในขณะนั้นเพิ่งจะเริ่มมีนโยบาย
จัดระเบียบแรงงานข้ามชาติซึ่งอยู่ใต้ดินให้ขึ้นมาอยู่บนดิน
ด้วยสภาพของแรงงานประมง ที่ต้องเผชิญกับสภาพการจ้างแบบที่นายจ้างคือผู้ยิ่งใหญ่
ไต้ก๋งคือกฎหมาย ใช้แรงงานลูกเรืออย่างไร้กฎกติกา เมื่อลูกเรือประมงขึ้นฝั่ง ค่าแรง
ของพวกเขาจึงหมดไปกับการพักผ่อนตามท่าเรือ กินเหล้า กินเบียร์ เข้าคาราโอเกะ
เที่ยวหญิงบริการ จึงเป็นพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ในปี พ.ศ. 2547
จึงเกิดโครงการฟ้ามิตรขึ้นเพื่อท�างานส่งเสริมการป้องกันเอดส์ในแรงงานข้ามชาติ
ในระดับพื้นที่และจากสายตาของคนทำางานคนหนึ่งที่คลุกคลีกับเรื่องแรงงานข้ามชาติ
มาตั้งแต่ยังเป็นอาสาสมัครในโครงการฟ้ามิตร พลอยมองว่างานในตอนนั้นเป็นการ
ให้ข้อมูลเพื่อการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มแรงงานประมง มีการแจกถุงยางอนามัย
และให้คำาแนะนำาต่าง ๆ มีการจ้างล่าม
ในโรงพยาบาล ทั้งภาษาเมียนมา
และกัมพูชา เพื่ออำานวยความสะดวก แม้ต่อมาโครงการสิ้นสุดลง
ในการเข้าถึงบริการ ไม่สามารถจ้างล่ามท�างานต่อไป
แต่ก็ได้พัฒนาศักยภาพแรงงานให้เป็น
อาสาสมัครแรงงานข้ามชาติเป็นเรื่อง อาสาสมัครที่มีความสามารถในการพูด
ที่สำาคัญและเป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม อ่านและแปลภาษาไทย เพื่อพาเพื่อน
แรงงานข้ามชาติเอง นอกจากพูดไทย แรงงานไปโรงพยาบาลกันได้ด้วย
ตนเอง หลังจากนั้นจึงมีโครงการ
ได้แล้วยังต้องมีใจอยากช่วยเพื่อนด้วย เกี่ยวกับสิทธิแรงงานข้ามชาติ
โดยพวกเขา/เธอจะผ่านการเทรน ตามมาอีกหลายโครงการในระยะหลัง
36 ผู้หญิงก้าวเดิน