Page 58 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 58

54
                                                           54


               ตารางที่ 1 สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจ าแนกภาพสัตว์ชนิดต่างๆ

               ชนิด          สถาปัตยกรรมของโครงข่าย ประสิทธิภาพของการทดสอบโมเดล     ที่มา
                             ประสาทเทียมแบบคอนโวลู
                             ชัน
               สุกร          VGG-Face              ความแม่นย าของการเรียนรู้ 96.7%   Hansen et al. (2018)
               ไก่ไข่        VGG-19                ความแม่นย า 96.85%               Yao et al. (2020)

               สุกร          LeNet-5               ความแม่นย าของการเรียนรู้ 97.6%   Wang et al. (2020)
               สัตว์ชนิดต่างๆ  DCNN                ความแม่นย า 92%                  Khan et al. (2020)
               นก            CNN                   ความแม่นย าของการเรียนรู้ 93%    Singh et al. (2020)
                                                   ความแม่นย าของการทดสอบ 80%
               นก            CNN พัฒนามาจาก        ความแม่นย าของการเรียนรู้ 93.19%   Raj et al. (2020)
                             VGGNet                ความแม่นย าของการทดสอบ 84.91%

               ไก่           Ayam6Net              ความแม่นย า 92.9%                Calvin et al. (2021)
               สัตว์ชนิดต่างๆ  CNN 2 ชั้น          ความแม่นย าของการเรียนรู้ 100%   Mohammed and Hussain
                                                                                    (2021)
               ไก่           ResNet-50             ความแม่นย า 95.2%                Ren et al. (2022)

               การเตรียมข้อมูลภาพไก่พื้นเมือง                   ขนาดภาพสูงสุด 3,120 x 4,160 พิกเซล (pixel)
                                                                สถานที่และอุปกรณ์ในการถ่ายภาพประกอบด้วย โต๊ะ
                      ในการทดลองนี้ใช้ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางด า  ที่มีพื้นสีขาวปูด้วยฟิวเจอร์บอร์ดสีขาวป้องกันไก่ลื่น
               พันธุ์แท้จากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่ง  ขณะถ่ายภาพ พื้นหลังใช้กระดานไวท์บอร์ดสีขาวที่ได้ท า
               เป็นแหล่งรวบรวมและพัฒนาไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางด า   ตารางขนาด 1x1 นิ้ว ส าหรับวัดส่วนสูงของไก่พื้นเมือง
               ส าหรับไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางด าลูกผสมเกิดจากการ  ส าหรับการใช้พื้นหลังภาพเป็นสีขาวเพื่อเป็นการจัด
               ผสมระหว่างประดู่หางด าพันธุ์แท้กับไก่พื้นเมืองเหลืองหาง  สภาพแวดล้อมของภาพถ่ายให้เหมือนกันทุกภาพ (รูปที่
               ขาวพันธุ์แท้ที่ได้จากศูนย์วิจัยและบ ารุงพันธุ์สัตว์ปีก  2) ก าหนดระยะห่างของกล้องถ่ายภาพและไก่พื้นเมือง
               กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี ของกรมปศุสัตว์ ซึ่งเป็นแหล่ง  ประมาณ 80 เซนติเมตร เพื่อให้ข้อมูลภาพที่ได้มีระยะ
               รวบรวมและพัฒนาไก่พื้นเมืองพันธุ์เหลืองหางขาว ส าหรับ  ในการถ่ายภาพใกล้เคียงกันทุกภาพ เก็บข้อมูลภาพกลุ่ม
               การเก็บข้อมูลภาพจะเก็บข้อมูลทั้งเพศผู้และและเพศเมีย  ละ 250 ภาพ รวมเป็น 1,000 ภาพ การทดลองนี้ใช้การ
               อายุ 20 สัปดาห์ขึ้นไป จ านวน 200 ตัว แบ่งตามพันธุ์และ  เขียนด้วยภาษาไพทอน (python) ด้วยการใช้ Intera-
               เพศเป็นกลุ่มละ 50 ตัว ใช้กล้องถ่ายภาพดิจิตอลของ  ctive Python ที่ใช้ Interface บนเว็บเบราว์เซอร์
               สมาร์ทโฟน OPPO Reno3 Pro รุ่น CPH2037 ในการ      ท างานในลักษณะ server-client model ที่เรียกว่า
               เก็บข้อมูลภาพ โดยคุณสมบัติของกล้อง คือ มีความ    jupyter notebook มีเบื้องหลังตัวท างานประมวลผล
               ละเอียด  64 MP + 13 MP (Telephoto) + 8 MP        คือ IPython และ Jupyter Lab server แบบ Local-
               (UltraWide) + 2 MP (MONO) (Quad Camera)          host (Localhost:8888) (กอบเกียรติ, 2565)















                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63