Page 60 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 60

56
                                                           56

               ครั้งละ 1 พิกเซล ชั้นพูลลิ่งใช้การพูลลิ่งด้วยค่าสูงสุด   เลื่อนครั้งละ 1 พิกเซล ชั้นพูลลิ่งใช้การพูลลิ่งด้วย
               จ านวน 2 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วย ขนาดตัวกรอง    ค่าสูงสุด จ านวน 3 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วย ขนาด
               2x2 เลื่อนครั้งละ 2 พิกเซล ชั้นเชื่อมโยงสมบูรณ์   ตัวกรอง 2x2 เลื่อนครั้งละ 2 พิกเซล ชั้นเชื่อมโยง
               จ านวน 1 ชั้น ประกอบด้วย 64 โหนด และใช้ฟังก์ชัน  สมบูรณ์ จ านวน 1 ชั้น ประกอบด้วย 64 โหนด และใช้
               กระตุ้นเรคติไฟด์ลินเนียนยูนิต                    ฟังก์ชันกระตุ้นเรคติไฟด์ลินเนียนยูนิต ทุกโครงสร้างใช้
                       4) สถาปัตยกรรมแบบคอนโวลูชัน 3 ชั้น       ออฟติไมเซอร์ (optimizer) เป็นอดัม (Adaptive
               (CNN2) ประกอบด้วย ชั้นคอนโวลูชัน จ านวน 3 ชั้น   Moment Estimation; Adam) และใช้ฟังก์ชันซอฟต์
               ประกอบด้วย ผังคุณลักษณะในชั้นที่ 1-3 เท่ากับ 32,   แมกซ์ (Softmax function) ในการค านวณหาความ
               64 และ 64 ตามล าดับ ใช้ตัวกรองขนาด 3x3 และ       น่าจะเป็นเพื่อท านายผลข้อมูลส่งออก
























               รูปที่ 3 ขั้นตอนการจ าแนกภาพไก่พื้นเมืองด้วยสถาปัตยกรรม LeNet-5, AlexNet, CNN1, และ CNN2


               การประเมินประสิทธิภาพของโมเดล
                                                                เดียวกับที่ใช้ในการทดสอบโมเดลทั้ง 4 กลุ่ม ๆ ละ 10
                   การประเมินประสิทธิภาพของโมเดลด้วยการ         ภาพ รวมเป็น 40 ภาพ น ามาทดสอบการท านายผล
               ค านวณหาค่าความแม่นย า (Accuracy) (สมการที่ 1)   (Prediction) โดยการนับจ านวนภาพที่โมเดลท านาย
               (กอบเกียรติ, 2565) และการท านายผล (Prediction)   ถูกต้องแล้วน าค านวณหาค่าเป็นเปอร์เซ็นต์ความ
               ค านวณหาโดยการสุ่มข้อมูลภาพไก่พื้นเมืองจาก ชุด   ถูกต้องเพื่อวัดประสิทธิภาพของการท างานของโมเดล
               ข้อมูลภาพชุด

                                                            (TP+TN) x 100
                                                Accuracy  =                         (1)
                                                            (TP+TN+FP+FN)

                       โดยก าหนดให้ค่าที่พยากรณ์ถูกต้องเชิงบวก   บวก (False Positive: FP) เป็นข้อมูลที่ท านายผิดเป็น
               (True Positive: TP) เป็นข้อมูลที่ท านายตรงกับข้อมูลจริง  กลุ่มที่ก าลังพิจารณา และค่าที่พยากรณ์ผิดพลาดเชิงลบ
               ในกลุ่มที่ก าลังพิจารณา ค่าที่พยากรณ์ถูกต้องเชิงลบ   (False Negative: FN) เป็นข้อมูลที่ท านายผิดเป็นกลุ่มที่
               (True Negative: TN) เป็นข้อมูลที่ท านายตรงกับข้อมูล  ไม่ได้พิจารณา
               จริงในกลุ่มที่ไม่ได้พิจารณา ค่าที่พยากรณ์ผิดพลาดเชิง






                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65