Page 55 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 55
51
51
การเกษตรราชภัฏ RAJABHAT AGRIC. 22 (1) : 50-59 (2023) Abstract
การใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกในการจ าแนกภาพ Once talk about Thai native chicken, Pradu Hang Dam is the most domesticated breed
ไก่พื้นเมืองไทยพันธุ์ประดู่หางด า native chicken. However, it has great genetic diversity. Thus, people who has no experience
and expertise hardly to distinguish between purebreds and cross breed. In this experiment,
The Use of Deep Learning Technique in the Classification of designed to use deep learning techniques with convolutional neural networks is presented as
Pradu Hang Dam Thai Native Chicken Images an effective image classification technique to solve this problem. Four groups of Pradu Hang
Dam Thai native chicken and crossbreed between Pradu Hang Dam and Leung Hang Khao
were used as follows: purebred male, purebred female, crossbreed male, and crossbreed
สุจิตรา ทิพย์ศรีราช สจี กัณหาเรียง และ สุรชัย สุวรรณลี female. Image dataset collected 250 images per group, a total of 1,000 images. Four
1
2
1*
1
Sujitra Thipsrirach , Sajee Kunhareang and Surachai Suwanlee architectures were tested: LeNet-5, AlexNet, CNN1 and CNN2 with resize to 224x224 pixels and
1*
2
then trained at 10 and 20 epochs, respectively. From the experiment it was found that using
บทคัดย่อ the LeNet-5 architecture with ReLu and then trained at 20 epochs has the highest training,
validation, and testing accuracy but the CNN2 architecture and then trained at 20 epochs able
to predict the results with 96.67% accuracy. The results showed that the using a simple
ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางด าเป็นพันธุ์ที่มีการเลี้ยงมากที่สุดในประเทศไทยและมีความหลากหลายทาง architecture of convolutional neural network like CNN2 can efficiently classify Thai native
พันธุกรรมเป็นอย่างมาก ผู้ที่ไม่มีประสบการณ์และความช านาญไม่สามารถแยกระหว่างพันธุ์แท้และลูกผสมได้ chicken breeds
อย่างถูกต้อง ในการทดลองนี้จึงได้น าเสนอการใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกด้วยโครงข่ายประสาทเทียมแบบคอน
โวลูชันซึ่งเป็นเทคนิคในการจ าแนกภาพที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหานี้ ใช้ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางด า Keywords: Deep Learning, Convolutional Neural Network, Classification,
พันธุ์แท้และลูกผสมระหว่างประดู่หางด ากับเหลืองหางขาวจ านวน 4 กลุ่ม ดังนี้ พันธุ์แท้เพศผู้ พันธุ์แท้เพศเมีย Pradu Hang Dam Thai Native Chicken
ลูกผสมเพศผู้ และลูกผสมเพศเมีย เก็บข้อมูลภาพกลุ่มละ 250 ภาพ รวมเป็น 1,000 ภาพ ทดสอบ
สถาปัตยกรรม 4 แบบ คือ LeNet-5, AlexNet, CNN1 และ CNN2 ปรับขนาดภาพเป็น 224x224 พิกเซล บทน า อรอนงค์ แลคณะ (2559)) และเป็นพันธุ์ที่มีความหลาก
โดยก าหนดรอบในการประมวลผลเป็น 10 และ 20 รอบ จากการทดลองพบว่า การใช้สถาปัตยกรรมแบบ หลายในด้านสีขนเป็นอย่างมาก (พน, (2543), พรรณระพี
LeNet-5 และฟังก์ชันกระตุ้นเรคติไฟด์ลินเนียนยูนิต ประมวลผล 20 รอบ มีความแม่นย าในการเรียนรู้ การ ไก่พื้นเมืองมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gallus dom- และคณะ (2543ก)) ส าหรับไก่พื้นเมืองประดู่หางด านั้น
ตรวจสอบ และการทดสอบมากที่สุด แต่สถาปัตยกรรมแบบ CNN2 ประมวลผล 20 รอบ สามารถท านายผลได้ esticus มีการเลี้ยงอยู่ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย เพื่อ เป็นไก่ไทยพันธุ์แท้แต่โบราณมีถิ่นก าเนิดในแถบภาคกลาง
ถูกต้องมากที่สุด คือ 96.67% จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการใช้สถาปัตยกรรมอย่างง่ายของโครงข่าย จุดประสงค์ในการบริโภค ความสวยงาม และเกมกีฬา ไก่ ของประเทศไทย ได้แก่ สุพรรณบุรี อยุธยา ฉะเชิงเทรา
ประสาทเทียมแบบคอนโวลูชันอย่าง CNN2 สามารถจ าแนกพันธุ์ไก่พื้นเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ พื้นเมืองที่มีการพัฒนาขึ้นมาเพื่อเกมกีฬา เรียกว่า ไก่ชน มีนบุรี หนองจอก สิงห์บุรี อ่างทอง พิจิตร และสุโขทัยเป็น
ค าส าคัญ: การเรียนรู้เชิงลึก โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน การจ าแนก โดยไก่ชนไทยถือเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ แหล่งก าเนิดไก่ประดู่หางด าชั้นดี ปัจจุบันได้แพร่หลายไป
ไก่พื้นเมืองพันธุ์ประดู่หางด า ชาติ โดยได้มีการประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทาง ทั่วประเทศไทย และต่างประเทศในแถบเอเชีย เช่น
วัฒนธรรมของชาติ ประจ าปีพุทธศักราช 2557 และสาย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน ไก่ประดู่หางด า
Received: 2 April 2023; Accepted: 3 May 2023 พันธุ์ไก่ชนที่ได้รับการรับรองจากสมาคมอนุรักษ์และ ปัจจุบันหลายท้องถิ่นก าลังอนุรักษ์พัฒนาสายพันธุ์ โดย
1 ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190 พัฒนาไก่พื้นเมืองไทยมีทั้งหมด 10 สายพันธุ์ ได้แก่ เหลือง เฉพาะสมาคมอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมือง และจังหวัด
1 Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani, 34190
2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40002 หางขาว ประดู่หางด า เขียวหางด า เทาหางด า นกแดงหาง สุโขทัยก าลังอนุรักษ์จดทะเบียนลิขสิทธิ์โลกไว้ให้เป็นมรดก
2 Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002. แดง ทองแดงหางด า นกกดหางด า ลายหางขาว เขียวเลา ของไทยและของโลกต่อไป
* Corresponding author: sujitra.th.59@ubu.ac.th หางขาว และประดู่เลาหางขาว (สุกัญญา, 2557) ส่วนกรม ไก่ประดู่หางด าที่เป็นพันธุ์แท้แต่โบราณมีอยู่ 3
ปศุสัตว์ได้รับรองพันธุ์ไก่พื้นเมืองไทยไว้ 4 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ (พน, 2543) คือ 1) ประดู่เมล็ดมะขาม หรือ
เหลืองหางขาว ไก่ประดูหางด า แดง และชี (กรมปศุสัตว์, ประดู่มะขาวคั่ว เป็นประดู่พันธุ์แท้แต่โบราณ พันธุ์ยอด
2546) โดยไก่พื้นเมืองที่นิยมเลี้ยงมากที่สุด คือ ประดู่หาง นิยมมี 2 เฉดสี คือ สีแก่ เรียกประดู่มะขามไหม้ หรือประดู่
ด า และเหลืองหางขาว ตามล าดับ (พรรณระพี และคณะ ด า แบบสีโอ๊กแก่ และสีอ่อน เรียกประดู่แดง แบบสีโอ๊ก
(2543ก), สุกัญญา (2557) สุภาวดี (2557), นิสิต (2558), อ่อน ลักษณะเด่นประจ าพันธุ์ของประดู่มะขามคั่วคือมีขน
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566