Page 6 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 6
2 2
ได้แก่ สาร imidacloprid, dinotefuran และ ethiprole ผลการทดลองพบว่าประชากรเพลี้ยกระโดดสี
น้้าตาล จังหวัดเชียงรายและล้าปางมีความต้านทานต่อสาร ethiprole ระดับต้านทานต่้า (6 เท่า) และ
ประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจากทั้งสามจังหวัดยังไม่ต้านทานต่อสาร imidacloprid และ
dinotefuran ข้อมูลนี้สามารถใช้เป็นค้าแนะน้าการเลือกใช้สารป้องกันก้าจัดแมลงในการควบคุมเพลี้ย
กระโดดสีน้้าตาลในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนบนอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับระดับความต้านทานของ
เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลในแต่ละพื้นที่
Abstract
Brown planthopper (BPH), Nilaparvata lugens (Stål), is a significant insect pest in
irrigated rice fields in Thailand's lower northern and central regions. They are capable of
rapidly adapting to their environments and rice varieties. The upper northern part had its
first severe outbreak from 2011 to 2012. Inappropriate insecticide application with a high
concentration over a long period and spread over an enormous area cause severe
outbreaks. The investigation of insecticide resistance in BPH was the objective of this
research. BPH populations were collected from rice fields in Chiang Rai, Chiang Mai, and
Lampang provinces in 2022. The toxicity level (LD50) was tested on three insecticides
commonly used by farmers in the area: imidacloprid, dinotefuran, and ethiprole. The
results demonstrate that the BPH populations collected from Chiang Rai and Lampang
provinces showed slight resistance to ethiprole (6-fold) and no resistance levels were
observed in imidacloprid and dinotefuran in all BPH populations. According to the level of
BPH resistance in each area, this information can be utilized to make recommendations
for the insecticides to use in order to effectively manage BPH in the upper northern region.
Keywords: rice, Nilaparvata lugens (Stål), insecticide resistance, LD50, Northern Thailand
บทน้า แรกในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2517 (ปรีชา, 2545) จาก
การตรวจเอกสารรายงานการระบาดพบว่า ทุกๆ ช่วง
เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล (Brown planthop- 10 ปี มักจะเกิดการระบาดท้าลายข้าวอย่างรุนแรงใน
per) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nilaparvata lugens (Stål) ภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง พบการระบาดรุนแรง
เป็นแมลงจ้าพวกปากดูด ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2532 พื้นที่เสียหายประมาณ 4
ท้าลายข้าวโดยการดูดกินน้้าเลี้ยง ท้าให้ต้นข้าวมีอาการ ล้านไร่ และ ปี พ.ศ. 2541 พื้นที่ปลูกข้าวเสียหายกว่า 3
ใบเหลืองแห้ง ลักษณะคล้ายถูกน้้าร้อนลวก แห้งตาย ล้านไร่ (จิรพงศ์, 2553) และในฤดูนาปรังช่วงตั้งแต่
เป็นหย่อมๆ เรียก อาการไหม้ (hopperburn) พบการ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ต่อเนื่องมาถึงเดือน
ระบาดตั้งแต่ระยะกล้าถึงระยะออกรวง นอกจากนี้ยัง มีนาคม พ.ศ. 2553 พื้นที่ปลูกข้าวเสียหายกว่า 3.8 ล้าน
เป็นพาหะน้าเชื้อไวรัสโรคใบหงิก (Rice ragged stunt ไร่ จาก 14 จังหวัด ในภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง
virus) และไวรัสโรคเขียวเตี้ย (Rice grassy stunt (กรมการข้าว, 2553) ซึ่งปี พ.ศ. 2555 พบการระบาดใน
virus) มาสู่ต้นข้าว (Ling, 1977) พบการระบาดครั้ง 20 จังหวัด จ้านวน 1,178,195 ไร่ จะเห็นว่าการระบาด
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566