Page 7 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 7

2 2                                                      3  3


 ได้แก่ สาร imidacloprid, dinotefuran และ ethiprole ผลการทดลองพบว่าประชากรเพลี้ยกระโดดสี  ของเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลได้ขยายวงการระบาดมากขึ้น   หลายชนิด สารชนิดเม็ด สารพ่นฝุ่น และการใช้สารเคมี

 น้้าตาล จังหวัดเชียงรายและล้าปางมีความต้านทานต่อสาร ethiprole ระดับต้านทานต่้า (6 เท่า) และ  โดยพบการระบาดเกิดขึ้นในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ใน   ผสมน้้ามันหล่อลื่นหยดลงในนาข้าว เพื่อรักษาผลผลิตให้
 ประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจากทั้งสามจังหวัดยังไม่ต้านทานต่อสาร imidacloprid และ   3 จังหวัด ได้แก่ อ้าเภอสันก้าแพง อ้าเภอแม่อาย   ถึงที่สุด โดยไม่ค้านึงถึงผลตอบแทนที่คุ้มค่าและ
 dinotefuran ข้อมูลนี้สามารถใช้เป็นค้าแนะน้าการเลือกใช้สารป้องกันก้าจัดแมลงในการควบคุมเพลี้ย  จังหวัดเชียงใหม่ อ้าเภอดอกค้าใต้ จังหวัดพะเยา และ  ผลกระทบต่อสภาพนิเวศในนาข้าว (วันทนา และคณะ,
                 อ้าเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ้านวน 40,466 ไร่ ซึ่ง
                                                                2554) จากการศึกษาพฤติกรรมการใช้สารป้องกันก้าจัด
 กระโดดสีน้้าตาลในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนบนอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับระดับความต้านทานของ  เป็นพื้นที่ที่ไม่พบมีรายงานการระบาดมาก่อน ปี พ.ศ.   แมลงของเกษตรกรในพื้นที่ที่พบการระบาดของเพลี้ย
 เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลในแต่ละพื้นที่   2556 พบการระบาดในจังหวัดนครพนม ระยอง   กระโดดสีน้้าตาล ของจินตนา และคณะ (2556) ที่

                 นครศรีธรรมราช สงขลา เชียงราย และอุตรดิตถ์      จังหวัดนครนายก สุพรรณบุรี อ่างทอง ชัยนาท พิษณุโลก
 Abstract        จ้านวน 2,472 ไร่ และพบการระบาดต่อเนื่อง        และนนทบุรี โดยการสัมภาษณ์เกษตรกร จังหวัดละ 100
                 นอกเหนือจากพื้นที่ที่เคยมีการระบาดเป็นประจ้าใน  - 150 ราย ช่วงเดือนสิงหาคม - พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
                 ภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง จนถึงปี พ.ศ. 2557    พบว่า เกษตรกรใช้สารป้องกันก้าจัดแมลง ร้อยละ 56.5

 Brown planthopper (BPH), Nilaparvata lugens (Stål), is a significant insect pest in   พบการระบาดในภาคต่างๆ ทั่วประเทศ พื้นที่ระบาด   – 100 และพ่นประมาณ 2 – 6 ครั้งต่อฤดูปลูก ใช้สาร
 irrigated rice fields in Thailand's lower northern and central regions. They are capable of   159,415 ไร่ พบการระบาดต่อเนื่องมาจนถึงปี พ.ศ. 2562   ป้องกันก้าจัดศัตรูข้าวผสมกัน 2 – 6 ชนิด ซึ่งสารป้องกัน

 rapidly adapting to their environments and rice varieties. The upper northern part had its   ท้าความเสียหาย 123,485 ไร่ (กรมส่งเสริมการเกษตร,   ก้าจัดแมลงที่นิยมน้ามาผสมร่วมกับสารอื่น คือ สาร
 first severe outbreak from 2011 to 2012. Inappropriate insecticide application with a high   2566) (รูปที่ 1)   abamectin (สารที่มีพิษสูงต่อสัตว์น้้า และไม่แนะน้าให้

                                                                ใช้ในการป้องกันก้าจัดเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล) สาเหตุที่
 concentration  over a  long period  and spread  over an  enormous  area  cause  severe   สาเหตุการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลที่  เกษตรกรผสมสาร เพราะมีการจ้างแรงงานในการพ่นสาร
 outbreaks. The investigation of insecticide resistance in BPH was the objective of this   พบในประเทศไทย ทั้ง 3 ครั้ง เกิดจากการปลูกข้าว พันธุ์  ในขณะที่เกษตรกรที่ใช้สารชนิดเดียวส่วนใหญ่ใช้สาร
 research. BPH populations were collected from rice fields in Chiang Rai, Chiang Mai, and   เดียวกันอย่างต่อเนื่องเป็นพื้นที่กว้างติดต่อกันหลายปี   abamectin สาร cypermethrin (สารที่ชักน้าให้เกิด

 Lampang provinces in 2022. The toxicity level (LD50) was tested on three insecticides   ร่วมกับมีการใช้สารป้องกันก้าจัดแมลงกลุ่มมีพิษร้ายแรง   การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลเพิ่มขึ้น) สาร
 commonly used by farmers in the area: imidacloprid, dinotefuran, and ethiprole. The   (extremely and highly hazardous)  เช่น  methyl   dinotefuran (สารที่แนะน้าให้ใช้ในการป้องกันก้าจัด
 results demonstrate that the BPH populations collected from Chiang Rai and Lampang   parathion หรือมีพิษสูงต่อปลาและสัตว์น้้า เช่น สาร  เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล) สาร chlorpyrifos (วัตถุ

 provinces showed slight resistance to ethiprole (6-fold) and no resistance levels were   กลุ่ม pyrethroid สังเคราะห์ และสารผสมกับสารกลุ่ม   อันตรายห้ามใช้ทางการเกษตร ตามประกาศกระทรวง
                                                                อุตสาหกรรม พ.ศ. 2563 (ฉบับที่ 6) (5 ชนิด)) และสาร
                 pyrethroid และสารที่ชักน้าให้เกิดการระบาดเพิ่มขึ้น
 observed in imidacloprid and dinotefuran in all BPH populations. According to the level of   หลังการใช้ (insecticide inducing resurgence) สาร  ethiprole (สารที่เคยแนะน้าให้ใช้ในการป้องกันก้าจัด
 BPH resistance in each area, this information can be utilized to make recommendations   เหล่านี้เป็นปัจจัยเร่งให้การระบาดถี่ และรุนแรงเกินกว่า  เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล แต่ปัจจุบันเป็นสารที่เพลี้ย
 for the insecticides to use in order to effectively manage BPH in the upper northern region.   ที่จะควบคุมได้ (ปรีชา, 2545; ประพันธ์ และ ปรารภ,   กระโดดสีน้้าตาลสร้างความต้านทานโดยเฉพาะในพื้นที่

                 2533) สอดคล้องกับ วนิช และคณะ (2540) รายงานว่า   ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง (สุกัญญา และคณะ,
 Keywords: rice, Nilaparvata lugens (Stål), insecticide resistance, LD50, Northern Thailand   จากการส้ารวจการใช้สารป้องกันก้าจัดแมลงของ  2555) เช่นเดียวกับ วันทนา และคณะ (2553) รายงาน
                 เกษตรกรในพื้นที่ระบาดเป็นประจ้า (hot spot) พบว่า   ว่า สาร imidacloprid เป็นสารที่แนะน้าให้ใช้ในการ
 บทน้า   แรกในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2517 (ปรีชา, 2545) จาก  เกษตรกรในจังหวัดสุพรรณบุรี ใช้สารป้องกันก้าจัดแมลง  ป้องกันก้าจัดเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลในประเทศไทย
                                                                ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2539 ซึ่งมีความเป็นพิษสูงมาก
                 ตรงตามค้าแนะน้าสูงสุด คือ ร้อยละ 38.5 และเกษตรกร
    การตรวจเอกสารรายงานการระบาดพบว่า ทุกๆ ช่วง   ในจังหวัดชัยนาทใช้สารตรงตามค้าแนะน้าต่้าที่สุด คือ   (extremely hazardous) ต่อมวนเขียวดูดไข่ศัตรู
 เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล (Brown planthop-   10 ปี มักจะเกิดการระบาดท้าลายข้าวอย่างรุนแรงใน  ร้อยละ 15 โดยร้อยละ 64 ของสารที่ใช้ในทั้งสองจังหวัด   ธรรมชาติในนาข้าวที่ส้าคัญ โดยมีค่าความเป็นพิษ
 per) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nilaparvata lugens (Stål)   ภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง พบการระบาดรุนแรง  เป็นสารที่ท้าให้เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลเกิดการระบาด  (LC50) ต่อมวนเขียวดูดไข่ เท่ากับ 1 ppm (วันทนา และ
 เป็นแมลงจ้าพวกปากดูด ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย   ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2532 พื้นที่เสียหายประมาณ 4   เพิ่มขึ้นหลังการใช้ ในขณะที่การระบาดแต่ละครั้งจะเพิ่ม  คณะ, 2542) และจากการส้ารวจการใช้สารป้องกัน
 ท้าลายข้าวโดยการดูดกินน้้าเลี้ยง ท้าให้ต้นข้าวมีอาการ  ล้านไร่ และ ปี พ.ศ. 2541 พื้นที่ปลูกข้าวเสียหายกว่า 3   ความรุนแรงมากขึ้น  แต่วิธีการจัดการระบาดของ  ก้าจัดแมลงของเกษตรกรในจังหวัดชัยนาท ระหว่างฤดู
 ใบเหลืองแห้ง ลักษณะคล้ายถูกน้้าร้อนลวก แห้งตาย  ล้านไร่ (จิรพงศ์, 2553) และในฤดูนาปรังช่วงตั้งแต่  เกษตรกรกลับไม่แตกต่างกัน เครื่องมือที่เกษตรกรใน  ปลูกข้าว ปี พ.ศ. 2552 สาร imidacloprid เป็นสารที่
 เป็นหย่อมๆ เรียก อาการไหม้ (hopperburn) พบการ  เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ต่อเนื่องมาถึงเดือน  พื้นที่ระบาดส่วนใหญ่ปฏิบัติ คือ สารป้องกันก้าจัด  เกษตรกรใช้ในข้าวทุกระยะการเจริญเติบโต (Manit,
 ระบาดตั้งแต่ระยะกล้าถึงระยะออกรวง นอกจากนี้ยัง  มีนาคม พ.ศ. 2553 พื้นที่ปลูกข้าวเสียหายกว่า 3.8 ล้าน  หลากหลายรูปแบบ เริ่มตั้งแต่การใช้สารเดี่ยว สารผสม  2010)
 เป็นพาหะน้าเชื้อไวรัสโรคใบหงิก (Rice ragged stunt   ไร่ จาก 14 จังหวัด ในภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง
 virus)   และไวรัสโรคเขียวเตี้ย (Rice grassy stunt   (กรมการข้าว, 2553) ซึ่งปี พ.ศ. 2555 พบการระบาดใน
 virus) มาสู่ต้นข้าว (Ling, 1977) พบการระบาดครั้ง  20 จังหวัด จ้านวน 1,178,195  ไร่ จะเห็นว่าการระบาด


 วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566   วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566

    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566     วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12