Page 12 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 12

8  8

               ป้องกันก้าจัดเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลและเป็นสารเคมีที่  แพร่ น่าน และเชียงใหม่ และค่าระดับความเป็นพิษต่อสาร
               กรมการข้าวแนะน้าให้ใช้ในการป้องกันก้าจัดแมลงหล่า (สุ  dinotefuran ต่้าที่สุด ประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล
               กัญญา และคณะ, 2565) อยู่ในกลุ่ม 2 เป็นสารกลุ่มที่หยุด  จังหวัดพิจิตรและนครสวรรค์มีความต้านทานระดับต่้าถึง
               การท้างานของช่องคลอไรด์ที่ท้างานโดยกรดแกมมาอะมิโน  ปานกลาง ยกเว้นประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจังหวัด
               บิวไทริค (GABA) กลุ่มย่อย 2B Phenylpyrazoles มีกลไก  เชียงราย ก้าแพงเพชร อุทัยธานี แพร่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์
               การออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทโดยไปขัดขวาง (block) การ  น่าน และเชียงใหม่ (รูปที่ 2) ซึ่ง สุกัญญา และคณะ
               ท้างานของช่องคลอไรด์ที่ท้างานโดยกรดแกมมาอะมิโนบิว  (2556ก) รายงานว่าประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจาก
               ไทริค (GABA-gated chloride channel) ท้าให้ไม่สามารถ  ภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ นครสวรรค์ อุทัยธานี พิจิตร
               ลดระดับการส่งกระแสประสาทได้ นอกจากนี้สารกลุ่มนี้  พิษณุโลก ก้าแพงเพชร และเพชรบูรณ์ ต้านทานต่อสารที่
               บางชนิดยังสามารถขัดขวางการท้างานของช่องคลอไรด์ที่  ทดสอบมากกว่าเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจากภาคเหนือ
               ท้างานโดยกลูตาเมท (Glutamate-gated chloride      ตอนบน เช่นเดียวกัน สุกัญญา และคณะ (2556ข) รายงาน
               channel) ได้ด้วย เช่น สาร fipronil ซึ่งจะท้าให้ chloride   ว่า ปี 2553/54 พบประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล 19
               ion ไม่สามารถไหลเข้าไปภายในเซลล์ประสาทเพื่อลด    จังหวัดจาก 20 จังหวัด ในพื้นที่ระบาดต้านทานต่อสาร
               ระดับกระแสประสาท (potential) ท้าให้มีการส่งกระแส  ethiprole สอดคล้องกับ Punyawattoe et al. (2013)
               ประสาทมากผิดปกติ (hyperexitation) ซึ่ง Garrood et   รายงานว่า ประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจังหวัด
               al. (2016) พบว่าประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจาก  สุพรรณบุรีต้านทานต่อสาร ethiprole สูงถึง 308.5 เท่า
               สาธารณรัฐประชาชนจีนที่เก็บรวบรวมปี ค.ศ. 2009     และประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลชั่วอายุขัยที่ 9
               ต้านทานต่อสาร ethiprole สูงถึง 230 เท่า และประชากร  ต้านทานต่อสาร ethiprole สูงถึง 453.1 เท่าในสภาพ
               เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจากประเทศไทย ที่เก็บรวบรวมปี   โรงเรือนทดลอง สอดคล้องกับ วันทนา และคณะ (2540)
               ค.ศ. 2008 ต้านทานต่อสาร ethiprole สูงถึง 100 เท่า   รายงานว่าประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจากนาข้าวที่มี
               ในขณะที่ประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจากสาธารณรัฐ  การท้าลายระดับที่ข้าวแสดงอาการไหม้ มีแนวโน้มที่เพลี้ย
               ประชาชนจีนที่เก็บรวบรวมปี ค.ศ. 2012-2014 พบมีความ  กระโดดสีน้้าตาลจะมีความต้านทานต่อสารป้องกันก้าจัด
               ต้านทานต่อสาร ethiprole เท่ากับ 11.5-71.8 เท่า อยู่ใน  แมลงสูงกว่าประชากรที่เก็บจากนาข้าวที่มีการท้าลายต่้า
               ระดับต้านทานปานกลาง (Zhang et al., 2016)         กว่าระดับเศรษฐกิจ (เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล 1 ตัวต่อต้น)
                       ผลการทดลองครั้งนี้สอดคล้องกับการรายงาน   จะเห็นได้ว่าระดับความเป็นพิษของสาร imidacloprid
               ของ สุกัญญา (2561) พบว่า ประชากรเพลี้ยกระโดดสี   และ ethiprole ต่อประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล
               น้้าตาลที่เก็บรวบรวมจากแปลงนาในเขตภาคเหนือ 10    จังหวัดเชียงราย และล้าปาง ที่เก็บรวบรวมปี พ.ศ. 2554
               จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน แพร่ พิจิตร   และปี พ.ศ. 2565 มีระดับความเป็นพิษสูงขึ้น เช่นเดียวกับ
               พิษณุโลก นครสวรรค์ ก้าแพงเพชร เพชรบูรณ์ และ      ระดับความเป็นพิษของสาร dinotefuran ต่อประชากร
               อุทัยธานี ในปี พ.ศ. 2554 มีค่าระดับความเป็นพิษต่อสาร   เพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจังหวัดล้าปางมีระดับความเป็นพิษ
               imidacloprid สูงที่สุด ซึ่งประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล  สูงขึ้น (รูปที่ 3) ซึ่งระดับความเป็นพิษที่สูงขึ้นแสดงให้เห็น
               จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก แพร่ พิจิตร นครสวรรค์   ถึงแนวโน้มในการเกิดความต้านทานของประชากรเพลี้ย
               เพชรบูรณ์ และก้าแพงเพชร และเชียงราย มีความต้านทาน  กระโดดสีน้้าตาลในพื้นที่นั้น อีกทั้งยังแสดงให้เห็นถึง
               ระดับต่้าถึงปานกลางค่อนข้างสูง ยกเว้นประชากรเพลี้ย  พฤติกรรมการใช้สารป้องกันก้าจัดแมลงของเกษตรกรที่
               กระโดดสีน้้าตาลจังหวัดน่าน ตามด้วยค่าระดับความเป็น  ส่วนใหญ่มักใช้สารชนิดเดิมๆ บ่อยครั้ง จนท้าให้เพลี้ย
               พิษต่อสาร ethiprole ประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล  กระโดดสีน้้าตาลสร้างความต้านทานต่อสารป้องกันก้าจัด
               จังหวัดอุทัยธานี นครสวรรค์ พิษณุโลก พิจิตร ก้าแพงเพชร   แมลงในหลายพื้นที่ ท้าให้การจัดการความต้านทานต่อ
               และเพชรบูรณ์ มีความต้านทานระดับต่้าถึงปานกลาง    สารป้องกันก้าจัดแมลงไม่ประสบผลส้าเร็จ (ส้านักวิจัย
               ยกเว้นประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลจังหวัดเชียงราย   พัฒนาการอารักขาพืช, 2564)








                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17