Page 11 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 11

สำรบัญตำรำงตัวชี้วัด (ต่อ)

          NCD





              รายการตัวชี้วัด                                                               หน้า


                 ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูง ปี 2566                                         76

              ตัวชี้วัดที่ 1  ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง  77
              ตัวชี้วัดที่ 2   ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปีที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิตสูง   78

              ตัวชี้วัดที่ 3   ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง   79
              ตัวชี้วัดที่ 4   ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม  82
              ตัวชี้วัดที่ 5  ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากผู้ที่มีระดับความดันโลหิต   84
                         อยู่ในเกณฑ์เกือบสูง (กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง)
              ตัวชี้วัดที่ 6   ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 mmHg และ/หรือ    86

                         ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg จากการวัดความดันโลหิตซ�้า
                         ในโรงพยาบาล และได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
              ตัวชี้วัดที่ 7   อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ   88

              ตัวชี้วัดที่ 8   ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ  89
              ตัวชี้วัดที่ 9   ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี   90

                 ตัวชี้วัดโรคความดันโลหิตสูง โครงการ Hospital BP ปี 2566                     92


              ตัวชี้วัดที่ 10  ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg    93
                         ได้รับการลงรหัส R03.0 และ/หรือได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
                         (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล ในวันนั้น

              ตัวชี้วัดที่ 11  ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg    95
                         และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหา
                         ในโรงพยาบาล
              ตัวชี้วัดที่ 12  ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg    97
                         ที่ได้รับการลงรหัส R03.0 และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

                         (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล












                                                                                            ช
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16