Page 15 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 15
วัดผลระดับ ผลการด�าเนินงาน
พื้นที่ใช้ ปี 65
ตัวชี้วัด นโยบาย ตรวจ NCD Service ในการ (ข้อมูล ณ
รัฐบาล ราชการ Clinic Plan วางแผน ปี 63 ปี 64 วันที่ 16
Plus
ด�าเนินงาน ก.ย. 65)
9. อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน P 61.36 57.46 52.19
และได้รับการตรวจติดตามและ
รักษาที่เหมาะสม
(เป้าหมาย ≥ 90%)
10. อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะ P 64.78 63.86 60.99
อ้วนลงพุง [รอบเอวมากกว่า
(ส่วนสูง (ซม.)/2)]
(เป้าหมาย ปี 63 ≤ 10%, ปี 64 ≤ 50 %,
ปี 65 ≤ 60 %)
11. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มี P P -8.12 -8.61 -7.63
ภาวะอ้วน (BMI ≥ 25 กก./ตร.ม.)
ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา
(เป้าหมายปี 63 ≥ 10%, ปี 64 ≥ 5%,
ปี 65 ≥ 5%)
12. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน P 64.58 65.75 66.15
ที่ได้รับการตรวจ HbA1c
อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
(เป้าหมาย ≥ 70%)
13. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน P P P P 28.91 28.05 29.75
ที่ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดได้ดี
(เป้าหมาย ≥ 40%)
14. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มี P P - 48.36 46.42
ความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์
(เป้าหมาย ≥ 60%)
15. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน P P - - 81.6
ที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL
(เป้าหมาย ≥ 65%)
16. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน P P 32.18 31.61 52.06
ที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL
และมีค่า LDL < 100 mg/dl
(เป้าหมาย ≥ 55%)
17.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับ P 52.42 45.36 45.00
การตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา
(เป้าหมาย ≥ 60%)
18.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับ P 57.34 51.45 49.14
การตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า
(เป้าหมาย ≥ 60%)
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 3 NCD
พ.ศ.�2563-2566