Page 129 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 129

2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง (ต่อ)
                                       2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง
                                          ส�าหรับเกณฑ์การวินิจฉัยความดันโลหิตสูงจากการวัดความดันโลหิต
                                      ด้วยวิธี HBPM และ OBPM มีรายละเอียด ดังนี้

                                                                     SBP                DBP
                                          วิธีการวัดความดันโลหิต
                                                                  (มม.ปรอท)          (มม.ปรอท)

                                      การวัดความดันโลหิตในสถานพยาบาล   ≥ 140  และ/หรือ   ≥ 90
                                      (OBPM)
                                      การวัดความดันโลหิตด้วยเครื่อง   ≥ 135  และ/หรือ   ≥ 85
                                      ชนิดพกพาที่บ้าน (HBPM)
                                          ทั้งนี้ หากมีความขัดแย้งกันของผล HBPM และ OBPM ให้ถือเอาผล
                                      ของ HBPM เป็นส�าคัญ เนื่องจาก HBPM สามารถท�านายการเกิดโรค
                                      แทรกซ้อนทางระบบหัวใจและหลอดเลือดได้ดีกว่า OBPM

               Q4: กรณีพบผู้ที่มีค่า   A4: ตัวชี้วัด “ร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิต ≥ 180/110 mmHg
               ความดันโลหิต ≥ 180/110  จากการคัดกรอง ได้รับการวินิจฉัย” ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่แสดงผลในหน้ากลุ่ม
               mmHg จากการคัดกรอง  รายงานมาตรฐาน >> ข้อมูล เพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรค

               หลังได้รับการติดตาม พบว่า  ไม่ติดต่อ (NCD DM,HT,CVD) ในระบบรายงาน Health Data Center (HDC)
               ผู้ป่วยมีค่าความดันโลหิต  โดยเงื่อนไขที่เข้าเกณฑ์และถูกนับเป็นผลงาน คือ ผู้ที่มีค่าความดันโลหิต
               ลดลง แพทย์จึงไม่วินิจฉัย  ≥ 180/110 mmHg และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
               โรคความดันโลหิตสูง     รายใหม่ ขึ้นทะเบียนในปีงบประมาณ
               ท�าให้ไม่ถูกนับเป็นผลงาน     กรณีตัวอย่าง หากพิจารณาจากเงื่อนไข คือ หลังจากที่ได้รับการวัด
               จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไร ความดันโลหิตซ�้า หรือได้รับการตรวจติดตามตามแนวทางการรักษาโรค
                                      ความดันโลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 อย่างถูกต้อง แล้วพบว่ามี

                                      ค่าความดันโลหิตลดลง และแพทย์ไม่ได้ยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
                                      จะไม่เข้าเกณฑ์ตัวชี้วัดฯ ดังกล่าว
                                         ดังนั้น การวัดความดันโลหิต, การตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยโรค
                                      ความดันโลหิตสูง ตามมาตรฐานแนวทางฯ และการบันทึกข้อมูลค่า
                                      ความดันโลหิตที่ถูกต้อง จึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่มีความส�าคัญ เพื่อช่วยลด

                                      ความผิดพลาดของการรายงานผลลัพธ์การด�าเนินงาน
              หมายเหตุ: สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงได้ที่ “แนวทางการรักษา
              โรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562” ดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ http://www.thaihypertension.org/
              guideline.html











                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  117  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   124   125   126   127   128   129   130   131   132