Page 128 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 128

2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง (ต่อ)
                                    2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง
           Q3: กรณีวัดความดันโลหิต A3: การวัดความดันโลหิตด้วยเครื่องชนิดพกพาที่บ้าน (Self หรือ Home
           ที่สถานีสุขภาพในชุมชน   Blood Pressure Monitoring, HBPM) ไม่ใช่ การวัดความดันโลหิตโดย

           สามารถใช้เกณฑ์วินิจฉัย  อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) โดยวิธีการวัดความดันโลหิต
           เดียวกันกับเกณฑ์วินิจฉัย   โดยวิธี HBPM คือ
           HBPM ได้หรือไม่            1. วัดความดันโลหิตในท่านั่ง เท้าทั้งสองวางราบกับพื้นและวัดความดัน

                                  โลหิตหลังจากนั่งพักอย่างน้อย 2 นาที
                                      2. วัดความดันโลหิตวันละ 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงเช้าและช่วงเย็น
                                  โดยแต่ละช่วงเวลา ให้วัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน
                                  1 นาที ควรวัดติดต่อกัน 7 วันหรืออย่างน้อย 3 วัน
                                      3. ช่วงเช้าควรวัดความดันโลหิตภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากตื่นนอน

                                  และหลังจากปัสสาวะเรียบร้อยแล้ว ควรวัดความดันโลหิตก่อนรับประทาน
                                  อาหารเช้า และยังไม่ได้รับประทานยาลดความดันโลหิต (ถ้ามี)
                                      4. รอบค�่า ควรวัดก่อนเข้านอน ระดับความดันโลหิตที่สูงผิดปกติ

                                  ≥ 135/85 mmHg
                                     กรณีผู้มารับบริการ ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงที่สถานี
                                  สุขภาพชุมชน แล้วพบว่ามีค่าความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยจะต้องได้รับการ
                                  ตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงที่สถานพยาบาลอีกครั้ง
                                  โดยแพทย์ โดยแบ่งค่าความดันโลหิต ดังนี้

                                      1. กรณีผู้ป่วยมีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP  ≥ 110 mmHg
                                  ให้แพทย์พิจารณายืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง พร้อมขึ้นทะเบียนรักษา
                                  (ลงรหัส ICD-10 สามหลักขึ้นต้นด้วย I10 - I15) ในวันนั้น หรือลงรหัส R03.0

                                  และยืนยันวินิจฉัยในวันถัดไป แต่ไม่เกิน 7 วัน
                                      2.  กรณีผู้ป่วยมีค่า SBP ตั้งแต่ 140 - 179 mmHg และ/หรือ DBP
                                  ตั้งแต่ 90 - 109 mmHg  แพทย์พิจารณาลงรหัส R03.0 และด�าเนินการ
                                  ติดตามผู้ป่วยได้ 2 วิธี คือ
                                     1) ท�า HBPM ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน หรือ

                                     2) นัดวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุขเดิม (OBPM)
                                  หลังจากติดตามแล้ว หากพบว่า ผู้ป่วยยังคงมีค่าความดันโลหิตสูงอยู่
                                  แพทย์จะเป็นผู้พิจารณายืนยันวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง พร้อมขึ้น

                                  ทะเบียน และรักษาต่อไป









   NCD       116  ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132