Page 125 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 125

สรุปประเด็นค�ำถำม – ตอบ เกี่ยวกับตัวชี้วัดโรคเบำหวำน

                                        และโรคควำมดันโลหิตสูง



              จากการประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงตัวชี้วัดเพื่อก�ากับติดตามคุณภาพบริการการด�าเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ
                          (DM-HT) ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในวันศุกร์ที่ 23 กันยายน 2565

                                          1. Q & A ประเด็นโรคเบาหวาน

               Q1: ปัจจุบันโรคเบาหวาน A1: โรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด สามารถเข้าสู่ระยะสงบของ
               สามารถรักษาหายได้      โรคได้ (remission) คือ ไม่แสดงอาการ และมีค่าระดับน�้าตาลในเลือดอยู่
               หรือไม่ หรือเป็นเพียง   ในค่าปกติและคงอยู่อย่างน้อย 3 เดือน โดยไม่ต้องใช้ยาเพื่อลดระดับน�้าตาล
               โรคเบาหวานระยะสงบ      ในเลือด แต่ก็ยังไม่มีข้อสรุปจากหลักฐานทางวิชาการว่าเมื่อโรคเบาหวาน
                                      ชนิดที่ 2 เข้าสู่โรคเบาหวานระยะสงบแล้ว พยาธิสภาพก�าเนิดของโรคเบาหวาน
                                      ชนิดที่ 2 จะกลับมาสู่สภาพปกติและโรคเบาหวานจะไม่กลับมาเป็นอีก
                                      ดังนั้น ผู้ป่วยยังคงต้องได้รับการติดตามอาการและระดับน�้าตาลในเลือด
                                      อย่างต่อเนื่อง ควรตรวจ HbA1c อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และควรยังคง
                                      พฤติกรรมในการด�าเนินชีวิตที่ดีต่อสุขภาพไว้
               Q2: ข้อแนะน�าในการคัด  A2: เงื่อนไขด้านเวลาของวิธีการรักษาที่น�าเข้าสู่โรคเบาหวานระยะสงบ ดังนี้
               เลือกผู้ป่วยเข้าสู่การดูแล     1. กรณีการรักษาด้วยยา ให้ใช้ผลการตรวจ HbA1c < 6.5% อย่างน้อย
               รักษาโรคเบาหวานระยะ    3 เดือน หลังหยุดยา
               สงบ มีอะไรบ้าง             2. กรณีรักษาด้วยการผ่าตัด ให้ใช้ผลการตรวจ HbA1c < 6.5%
                                      อย่างน้อย 3 เดือน หลังการผ่าตัด (หากมีการใช้ยาหลังผ่าตัดด้วย ให้ใช้ผล
                                      การตรวจ HbA1c < 6.5% อย่างน้อย 3 เดือน หลังหยุดยา)
                                          3. การรักษาด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ใช้ผลการตรวจ
                                      HbA1c < 6.5% อย่างน้อย 6 เดือน หลังเริ่มการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                      (หากมีการใช้ยาร่วมด้วย ให้ใช้ผลการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 3 เดือน
                                      หลังหยุดยา)
                                      Ref. : Riddle MC, Cefalu WT, Evans PH, Gerstein HC, Nauck MA, Oh WK,
                                      et al. Consensus Report: Definition and Interpretation of Remission in
                                      Type 2 Diabetes. J Clin Endocrinol Metab. 2022;107(1):1-9
               Q3: กรณีที่ตรวจระดับ   A3: เนื่องจากมีค่าระดับน�้าตาลในเลือดหลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง
               น�้าตาลในเลือดหลังอด   ครั้งแรก ≥ 126 mg/dL และตรวจติดตามยืนยันอีกครั้งมีค่า ≤ 126 mg/
               อาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง  dL แต่ค่า HbA1C ≥ 6.5 mg% ซึ่งเข้าเกณฑ์เป็นผู้ป่วยเบาหวานแล้วจึง
               ครั้งแรกมีค่าระดับน�้าตาล  สามารถวินิจฉัยได้เลย
               132 mg/dL ครั้งที่ 2 มีค่า
               ระดับน�้าตาล 121 mg/dL
               และค่า HbA1C 6.9 mg%
               แพทย์สามารถวินิจฉัย
               เบาหวานได้หรือไม่



                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  113  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130