Page 127 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 127
1. Q & A ประเด็นโรคเบาหวาน (ต่อ)
1. Q & A ประเด็นโรคเบาหวาน
Q7: กรณีคัดกรองเบา A7: ไม่สามารถตรวจติดตามยืนยันกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานภายใน
หวานแล้วค่าระดับน�้าตาล วันเดียวกันได้ เนื่องจากหากตรวจในวันเดียวกัน อาจท�าให้ค่าระดับน�้าตาล
ในเลือดเข้าข่ายเป็นกลุ่ม ในเลือดมีความแปรปรวนในช่วงที่ท�าการตรวจเลือด เช่น การรับประทาน
สงสัยป่วยเบาหวาน หน่วย อาหารในระยะเวลาสั้นๆ, ความเครียด และการเจ็บป่วย เป็นต้น
บริการสามารถเจาะเลือดผู้ ดังนั้นควรตรวจยืนยันด้วย FPG ซ�้าในวันถัดไป เพื่อยืนยันค่าระดับน�้าตาล
สงสัยป่วยภายในวัน ในเลือด และส่งต่อพบแพทย์วินิจฉัยต่อไป
เดียวกันแล้วแช่ไว้ในตู้เย็น รายละเอียดตัวชี้วัดร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย
เพื่อส่งตรวจ FPG ที่โรง โรคเบาหวานปี 2566 ให้ การตรวจยืนยันกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
พยาบาลทางห้องปฏิบัติ สามารถตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป กลุ่มสงสัยป่วย
การในวันถัดไปได้หรือไม่ โรคเบาหวาน ต้องได้รับการตรวจยืนยันโดยการตรวจระดับพลาสมากลูโคส
หลังอดอาหารมากกว่า 8 ชั่วโมง (FPG) ทางห้องปฏิบัติการ ในสถานบริการ
สาธารณสุข โดยสามารถตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยได้ตั้งแต่ 1 วันถัดไป
หลังจากวันที่คัดกรองและเป็นผู้สงสัยป่วยเบาหวาน (ภายใน 180 วัน)
ตามแนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับโรคเบาหวาน
หมายเหตุ : ผู้ที่สงสัยป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจติดตามวินิจฉัย
ภายใน 1-180 วัน โดยไม่ต้องเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน
หมายเหตุ: สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคเบาหวานได้ที่ “แนวทางเวชปฏิบัติส�าหรับ
โรคเบาหวาน 2560”
2. Q & A ประเด็นโรคความดันโลหิตสูง
Q1: ผู้ป่วยโรคความดัน A1: ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ผู้ดูแล ระยะเวลาการออกฤทธิ์ของยา
โลหิตสูง ต้องทานยา รวมถึงบริบทของพื้นที่
ก่อนมาตรวจตามนัดที่
โรงพยาบาลทุกครั้งหรือไม่
Q2: มีความจ�าเป็นต้องท�า A2: มีหลักฐานสนับสนุนว่า การวัดความดันโลหิตโดยวิธี HBPM มีส่วนช่วย
Home Blood Pressure กระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานยาลดความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง ท�าให้
Monitoring (HBPM) ควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น โดยผลที่ได้จากการท�า HBPM สามารถน�าไป
ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับ ใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจเริ่ม หรือปรับเปลี่ยนการรักษา และแนะน�า
การวินิจฉัยโรคความดัน ให้ติดตามระดับความดันโลหิตจาก HBPM เป็นระยะ โดยเฉพาะหลังจาก
โลหิตสูง และเริ่มทานยา เริ่มหรือมีการปรับเปลี่ยนยาลดความดันโลหิต แต่ไม่แนะน�าให้ผู้ป่วย
หรือปรับยา แต่ยังมีระดับ ปรับขนาดยาลดความดันโลหิตด้วยตนเอง
ความดันโลหิตสูง หรือไม่
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 115 NCD
พ.ศ.�2563-2566