Page 130 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 130

3. Q & A ประเด็นการจัดการข้อมูล
           Q1: กรณีผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัย A1: กรณีลงรหัสในแฟ้ม chronic จะไม่สามารถจ�าหน่ายผู้ป่วยออกได้
           และขึ้นทะเบียนแฟ้ม chronic  จนกว่าจะเสียชีวิต เนื่องจากโรคเรื้อรัง คือ โรคที่เป็นแล้วรักษา
           แต่ปัจจุบันแพทย์ไม่ได้สั่งยา  ไม่หายขาด
           และไม่นัดแล้วจะจ�าหน่ายออก
           อย่างไร

           Q2: หากมีผลตรวจมาจาก      A2: - กรณีการตรวจจากโรงงานจะเป็นการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
           โรงงานหรือโรงพยาบาลเอกชน  และความดันโลหิตสูง โดยสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
           ต้องลงข้อมูลอย่างไร เนื่องจาก ลงด�าเนินการ ดังนั้นสถานบริการสาธารณสุขสามารถลงข้อมูลได้

           บางแห่งไม่มีรหัสสถานพยาบาล     -  กรณีตรวจจากโรงพยาบาลเอกชนจะเป็นการตรวจแบบ
                                     coverage ที่มีข้อมูลครบถ้วน เช่น ประวัติคนไข้, ผล LAB เป็นต้น
                                     ซึ่งการลงข้อมูลต้องมีการระบุรหัสสถานพยาบาลให้ชัดเจนและ
                                     กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
                                          -  กรณีสถานพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
                                     แต่ไม่มีรหัสสถานพยาบาลสามารถ Update ข้อมูลได้ที่เว็บไซต์
                                     กองยุทธศาสตร์และแผนงานส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                                     ข้อมูลเว็บไซต์ : http://203.157.10.8/hcode_2020/query_set.php

           Q3: ผู้ป่วยโรคเบาหวานและ  A3: ให้ดูข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะ Type area ในเขตรับผิดชอบ ถึงจะเป็น
           ความดันโลหิตสูง ที่ไปรับ  เป้าหมาย หากนอกเขตรับผิดชอบจะไม่น�ามาคิดเป็นเป้าหมาย
           บริการนอกเขตรับผิดชอบ
           สถานบริการที่ให้บริการต้องคีย์

           ข้อมูลขึ้นทะเบียนโรคเรื้อรัง
           ทั้งหมดหรือไม่
           Q4: ผู้ป่วยที่เสียชีวิต    A4: จ�าหน่าย 3 แฟ้ม ได้แก่
           จะจ�าหน่ายที่แฟ้มไหนบ้าง       1. แฟ้ม Person ให้สถานะเป็นการเสียชีวิต
                                          2. แฟ้ม Death ระบุสาเหตุการเสียชีวิต

                                          3. แฟ้ม Chronic กรณีผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
                                     เมื่อจ�าหน่ายเสียชีวิตให้ระบุทุกรหัสโรคที่ได้รับวินิจฉัย
           Q5: กรณีลงรหัสหรือวินิจฉัยผิด A5: ให้ท�า data correct เพื่อรายงานแก้ไขข้อมูล
           แล้วกดส่งข้อมูลเข้า HDC

           สามารถแก้ไขได้อย่างไร
           Q6: การท�าและส่งข้อมูล data  A6: ไม่สามารถท�าได้ ต้องให้หน่วยงานผู้ให้บริการแก้ไขและส่งออก
           correct หากไม่ใช่หน่วยงาน   ข้อมูล data correct เท่านั้น
           ผู้ให้บริการ จะสามารถแก้ไข
           และส่งออกข้อมูลได้หรือไม่



   NCD       118  ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   125   126   127   128   129   130   131   132