Page 41 - อัยการนิเทศ (หนังสือราชการของสำนักงานอัยการสูงสุด) เล่มที่ 86 พ.ศ. 2564
P. 41

ให้เกิดความสะดวกในการเสพเท่านั้น ประกอบกับคีตามีนของกลางที่เจ้าพนักงานตรวจยึดได้
                มีปริมาณเพียงเล็กน้อย น่าเชื่อว่าผู้ต้องหามีไว้เพื่อเสพเอง คดีไม่มีประจักษ์พยานหรือข้อเท็จจริงใด

                ยืนยันว่าผู้ต้องหาได้กระทำการใดอันมีลักษณะรุนแรงถึงขนาดเป็นอันตรายต่อบุคคลในสังคม
                การกระทำของผู้ต้องหาจึงยังไม่ต้องด้วยบทนิยามคำว่า “ผลิต” ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์

                ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๔ (ตามนัยคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๐๕๔/๒๕๕๘) *
                ชี้ขาดไม่ฟ้องผู้ต้องหา ฐานผลิตวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท ๒ (คีตามีน) โดยไม่ได้
                รับอนุญาต ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๔, ๑๕,

                ๑๑๗ วรรคหนึ่ง




























                * คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๐๕๔/๒๕๕๘ ดูอัยการนิเทศ เล่มที่ ๘๑ พ.ศ. ๒๕๕๙ หน้า ๗๐ - ๗๑






                                                             อัยการนิเทศ เล่มที่ ๘๖ พ.ศ. ๒๕๖๔   1
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46