Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 19

ในข้อนี้จึงเป็นข้อก�าหนดที่ส�าคัญเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด
                                                      ในการใช้งานอาจใช้ข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อประกอบกันเพื่อให้ได้การป้องกัน
                                                      ตามที่ต้องการ ต่อไปนี้เป็นการแนะน�าหลักการป้องกันโดยย่อตาม BS 7671:2018
                                                      ซึ่งมีดังนี้





                                                        1. มีการปลดวงจรอัตโนมัติ (automatic disconnection of
                                                      supply) สามารถใช้ได้กับการป้องกันพื้นฐานและป้องกันเมื่อเกิดผิดพร่อง
                                                      การป้องกันเมื่อเกิดผิดพร่อง ประกอบด้วย
                                                          1.1 ระบบสายดินป้องกัน (protective earthing) และการประสานศักย์
                                                      ให้เท่ากัน (protective equipotential bonding)
            (fault) ท�าได้โดยมีระบบสายดิน มีการประสานศักย์      1.2 การปลดวงจรโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดผิดพร่อง เมื่อเกิดผิดพร่องเครื่อง
            ให้เท่ากัน (equipotential bonding) และมีเครื่อง  ปลดวงจรอัตโนมัติต้องปลดวงจรภายในเวลาไม่เกิน 5 วินาที ส�าหรับระบบ TN
            ปลดวงจรอัตโนมัติเมื่อเกิดผิดพร่อง หลักการป้องกัน  และไม่เกิน 1 วินาที ส�าหรับระบบ TT แต่ส�าหรับวงจรย่อยขนาดไม่เกิน 63 A
            คือ                                       และวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดติดตั้งถาวรขนาดไม่เกิน 32 A ต้องเป็นไปตามตาราง
               § ป้องกันไม่ให้กระแสที่เกิดจากการผิดพร่อง   ต่อไปนี้
                 ไหลผ่านร่างกาย

               § จ�ากัดกระแสที่เกิดจากการผิดพร่องที่ไหลผ่าน      ตารางที่ 1 Maximum disconnecting times
                 ร่างกายให้มีค่าที่ไม่เป็นอันตราย
               § จ�ากัดช่วงเวลาที่กระแสจากการผิดพร่องที่   Nominal voltage    Disconnecting time (seconds)
                 ไหลผ่านร่างกายไม่นานจนเป็นอันตราย         (volts)         TN system            TT system
              หลักการที่ส�าคัญในการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า                AC        DC         AC         DC

            ดูดคือ ส่วนที่มีไฟฟ้าที่เป็นอันตรายต้องไม่สามารถเข้า  50 < U  ≤ 120  0.8  หมายเหตุ  0.3    หมายเหตุ
                                                             0
            ถึงได้และส่วนตัวน�าไฟฟ้าที่เข้าถึงได้ต้องอยู่ในสภาพที่  120 < U  ≤ 230  0.4  1    0.2        0.4
                                                             0
            ไม่เป็นอันตราย ทั้งในภาวะปกติและเมื่อเกิดผิดพร่อง  230 < U  ≤ 400  0.2  0.4       0.07       0.2
            เพียงจุดเดียว                                    0
                                                          U  > 400       0.1       0.1        0.04       0.1
                                                           0
                                                             หมายเหตุ ไม่ต้องการปลดวงจรเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด
                                                           แต่อาจต้องการปลดวงจรด้วยเหตุผลอื่น เช่น ป้องกันผลจากความร้อน


                                                        เพื่อให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจรได้ตามเวลาที่ก�าหนด ค่า maximum

                                                      earth fault loop impedance (Z ) ต้องเป็นดังนี้ (รายละเอียดเพิ่มเติมศึกษา
                                                                                s
                                                      ได้จาก BS 7671:2018)











                รูปที่ 2 อันตรายจากไฟฟ้าดูดเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้า
                         เกิดผิดพร่อง (ไฟรั่ว)




                                                                                                    วิศวกรรมสาร  19
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24