Page 23 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 23

ภาพจาก : https://www.btsgroup.co.th



                                                             ปวริศร์ ค�ามุลตรี, กฤษฎา ลาภพาณิชยกุล, พิธิวัต เทียนทอง, และ อรรถสิทธิ์ ศิริสนธิ




















                  การน�าแบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร

                   มาใช้ในโครงการโครงสร้างพื้นฐาน

                                 ในประเทศไทย



               (กรณีศึกษา: โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว)



               AN IMPLEMENTATION OF BIM FOR INFRASTRUCTURE PROJECT IN THAILAND
               (A CASE STUDY: THE MONORAIL CONSTRUCTION PROJECTS)



               บทคัดย่อ                                                         ABSTRACT

                 การน�าเทคโนโลยีแบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร (Building Information      Thailand’s construction industry
               Modeling, BIM) มาใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้างของประเทศไทยมักพบเห็นใน  utilizes Building Information Modeling
               โครงการก่อสร้างอาคารเป็นหลัก กล่าวคือการน�า BIM มาใช้จัดการงานก่อสร้าง  (BIM) technology primarily for building
               โครงสร้างพื้นฐานค่อนข้างพบได้น้อย เนื่องจากจะมีรูปแบบการก่อสร้าง, วิธีการ  construction projects. Managing
               ก่อสร้าง, รูปแบบโครงการ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการจ�านวนมาก จึงท�าให้การน�า   infrastructure construction with BIM is
               BIM มาใช้ในโครงการดังกล่าวประสบปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานที่แตกต่าง  rare. There are numerous construction

               จากงานอาคาร ในบทความนี้น�าเสนอการใช้ BIM ในโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า   styles, construction methods, project
               รางเดี่ยว โดยจุดประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอน, รูปแบบ และการพัฒนาแบบอ้างอิง  categories, and project participants
               การก่อสร้าง (Construction Reference Drawing, CRD) ที่เป็นรอยต่อระหว่าง  involved in the project. Consequently,
               ช่วงออกแบบไปยังช่วงก่อสร้าง อีกทั้งยังได้ถอดบทเรียนและอุปสรรคต่าง ๆ ในการ  the implementation of BIM in
               ใช้ BIM ในโครงการขนาดใหญ่ จากผลลัพธ์จะเห็นว่าการพัฒนา CRD มีประโยชน์  infrastructure construction projects

               อย่างมากในการจัดการแบบก่อสร้างเนื่องจากสามารถตรวจสอบข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น   faces a variety of problems and
               และยังช่วยแสดงรายละเอียดที่ซับซ้อนเพื่อให้ผู้ใช้งานเข้าใจง่ายมากขึ้น อย่างไร  obstacles. A case study was conducted
               ก็ดีพบว่าในการท�างานจริงนั้นถูกจ�ากัดด้วยเวลาในการออกแบบและก่อสร้าง    on the application of BIM to monorail
               จึงมีความจ�าเป็นในการท�าแบบเพื่อการก่อสร้างโดยที่แบบอ้างอิงการก่อสร้างยัง   construction projects. This paper’s
               ไม่แล้วเสร็จ โดยปัญหาที่เกิดขึ้นถูกน�ามาเป็นความท้าทายในการพัฒนากรอบการ  objective is to investigate the procedure,
               ท�างานของ BIM ให้ประสบความส�าเร็จในอนาคตต่อไป                    approach, and development of
                                                                                a construction reference drawing


            ค�าส�าคัญ: แบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร, การเขียนแบบอ้างอิงการก่อสร้าง, รถไฟฟ้ารางเดี่ยว

                                                                                                    วิศวกรรมสาร  23
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28