Page 27 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 27

การน�าแบบจ�าลองสารสนเทศอาคารมาใช้ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย (กรณีศึกษา: โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว)



















































                               รูปที่ 3 ขั้นตอนการด�าเนินการจัดท�า CRD             รูปที่ 4 การตรวจสอบด้วยอุปกรณ์ VR


              จากลักษณะงานในโครงการรถไฟฟ้ารางเดี่ยวจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนงาน ได้แก่   มีความซับซ้อนของรายละเอียดต่าง ๆ ที่

            งานโครงสร้างทางวิ่งยกระดับ, งานอาคารสถานี และงานอาคารศูนย์ซ่อมบ�ารุง เนื่องจาก เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก ดังแสดงตัวอย่าง
            ลักษณะงานที่มีขนาดใหญ่ และมีขอบเขตงานกว้าง จึงท�าให้การศึกษานี้จะมุ่งเน้นไป 2 ส่วน  ตามรูปที่ 7 จึงจ�าเป็นต้องมีการจัดท�า CRD
            คือ การจัดท�า CRD ในส่วนของคานทางวิ่ง (Guide Way Beam, GWB) และในส่วนของ ในระดับความละเอียด LOD400 ที่จะ
            งานอาคารสถานี (station building) นอกจากนี้จะท�าการศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในการ  ประกอบด้วยขนาด หน้าตัด, รายละเอียด
            น�า BIM มาใช้ในโครงการ รวมถึงวิเคราะห์ปัญหาและความท้าท้ายในการน�า BIM มาใช้  จุดรองรับ, รายละเอียดเหล็กเสริม (เหล็ก
            ในงานโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เป็นแนวทางในการท�างานของโครงการอื่น ๆ ในอนาคต เสริมตามยาว, เหล็กเสริมตามขวาง, เหล็ก
            ต่อไป                                                               เสริมพิเศษ), ท่อส�าหรับใส่ลวดอัดแรง, ลวด

                                                                                อัดแรง, ช่องเปิดส�าหรับงานระบบทั้งระบบ
              2.2 การจัดท�า CRD ของคานทางวิ่ง                                   ประกอบอาคารและระบบการเดินรถ และ

              คานทางวิ่งเป็นองค์อาคารที่ใช้รองรับรถไฟฟ้ารางเดี่ยวในระบบ straddle type ซึ่ง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งในคานทางวิ่ง ซึ่ง
            ตัวรถจะวิ่งอยู่บนคานทางวิ่ง ดังแสดงในรูปที่ 5 โดยการออกแบบโครงสร้างทางวิ่งนี้จะ การจัดท�า CRD โดยใช้ BIM จะช่วยท�าให้
            มี 2 รูปแบบหลัก คือ (1) ระบบโครงสร้างแบบคานช่วงเดียว (simple span) วางบน สามารถตรวจสอบข้อขัดแย้งของส่วนประกอบ

            เสาตอม่อ (2) ระบบโครงสร้างแบบคานต่อเนื่อง 3-4 ช่วง (continuous beam) [6-7]   ต่าง ๆ เพื่อให้ได้แบบก่อสร้างคานทางวิ่งที่
            ตามรูปที่ 6 คานทางวิ่งทั้งสองรูปแบบจะมีความยาวช่วงทั่วไป (typical span) ที่ 30 เมตร   มีความถูกต้อง และยังลดความผิดพลาดที่
            โดยการออกแบบคานทางวิ่งจะเลือกใช้คานคอนกรีตหล่อส�าเร็จรูป ซึ่งคานทางวิ่งนี้จะ จะเกิดขึ้นในงานก่อสร้างได้

                                                                                                    วิศวกรรมสาร  27
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32