Page 25 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 25

การน�าแบบจ�าลองสารสนเทศอาคารมาใช้ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย (กรณีศึกษา: โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว)



              ในขั้นตอนการออกแบบและก่อสร้างจะถูกแบ่งเป็น 2 ช่วง ได้แก่  การก่อสร้าง (Construction Reference Drawing, CRD) ซึ่งเป็น
            (ก) ช่วงการออกแบบซึ่งประกอบด้วยการออกแบบเชิงแนวคิด  แบบที่ได้รับการตรวจสอบจากทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องในทุกระบบ
            (conceptual design), การออกแบบเบื้องต้น (preliminary  ไม่ว่าจะเป็นส่วนงานโครงสร้าง, งานสถาปัตยกรรม, งานระบบ
            design) การออกแบบรายละเอียด (detailed design) และ (ข) ช่วง ประกอบอาคาร และงานระบบประกอบการเดินรถไฟรางเดี่ยว
            การก่อสร้างจะประกอบด้วยแบบเพื่อการก่อสร้าง (construction  เพื่อลดข้อผิดพลาดและข้อขัดแย้งในงานก่อสร้างที่จะเกิดขึ้น

            drawing) และแบบก่อสร้างจริง (as-built drawing) โดยการ เพื่อให้เห็นภาพรวม และตรวจสอบหาจุดขัดแย้งที่เกิดขึ้น โดย
            ท�างานด้วย BIM จะมีการเพิ่มขั้นตอนที่ส�าคัญระหว่างช่วงการ ช่วงเวลาที่ควรจัดท�า CRD คือช่วงระหว่างการออกแบบรายละเอียด
            ออกแบบไปยังช่วงก่อสร้าง คือ ขั้นตอนของการจัดท�าแบบอ้างอิง ก่อนการจัดท�าแบบเพื่อการก่อสร้าง


                                                       Structural Framing
                   LOD 100             LOD 200             LOD 300             LOD 400            LOD 500











             -  Representation   -  Definition of Profile    -  Specification of   -  Definition of all   -  Tracking Models
                Concept             Types and Materials     Components with       Manufacturing Details:        according to Build
             -  Assumptions for   -  Identification of          regard to Connections,     Welds, Reinforcements,          Condition
                Structural Framing     Restricted Areas for      -  Materials, and Coatings    and Connections
                                    Penetration
                                            รูปที่ 2 ระดับความละเอียดของแบบจ�าลองงานโครงสร้าง







              การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอาคารในต่างประเทศเริ่มมีการ ส�าคัญ ซึ่งสามารถแบ่งรายละเอียดของ LOD แบ่งออกเป็น 5 ระดับ
            พัฒนาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 โดยมีการพัฒนามาตรฐานครั้งแรก  ตั้งแต่ LOD100, LOD200, LOD300, LOD400 และLOD500

            ในปี ค.ศ. 2007 ในประเทศสหรัฐอเมริกา ขณะที่ไทยเริ่มมีคู่มือการ ซึ่งความละเอียดเรียงจากน้อยไปมากตามล�าดับ [2] ตามตัวอย่าง
            แนะแนวทางปฏิบัติครั้งแรกในปี ค.ศ. 2015 [2] แต่พบว่าการใช้งาน  งานโครงสร้างในรูปที่ 2 ในกรณีศึกษานี้มีข้อจ�ากัดในการท�างาน
            BIM จะอยู่ในกลุ่มงานอาคารเป็นหลัก [3] หรือมีการน�ามาใช้ใน หลายด้านด้วยกัน เช่น พื้นที่ท�างาน, การเวนคืนที่ดิน, ระยะเวลา
            โครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของประเทศค่อนข้าง ในการก่อสร้างและการทดสอบระบบ เป็นต้น ประกอบกับลักษณะ
            น้อย ท�าให้ยังไม่มีการก�าหนดรูปแบบและข้อก�าหนดการท�างานจาก โครงการเป็นโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ จึงท�าให้มีหน่วยงานที่
            เจ้าของงานหรือผู้เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน ระดับความละเอียดของ เกี่ยวข้องจ�านวนมากที่ต้องประสานงานและท�างานร่วมกัน จึงต้อง

            แบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร (Level of Development, LOD)  น�า BIM มาใช้ในการจัดการในส่วนของการออกแบบและก่อสร้าง
            เป็นตัวก�าหนดระดับของความละเอียดในการสร้างแบบจ�าลองที่ โดยข้อก�าหนดทั่วไปของ BIM ส�าหรับงานโครงสร้างพื้นฐาน
                                                               แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ การก�าหนดการสร้างแบบจ�าลอง
                                                               (modeling requirement), การจ�าแนกประเภท (classification)
                                                               และการก�าหนดรูปแบบ (format) [4] ส่วนประกอบของข้อมูล

                                                               เหล่านี้ต้องถูกจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบและระบบ เพื่อใช้ข้อมูลใน
                                                               การท�างานของผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการ
                                                               จัดซื้อจัดจ้าง โดยโครงสร้างพื้นฐานมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน

                                                                                                    วิศวกรรมสาร  25
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30