Page 30 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 30

การน�าแบบจ�าลองสารสนเทศอาคารมาใช้ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย (กรณีศึกษา: โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว)

                                                         ภาพจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/สถานีศรีเอี่ยม






          การออกแบบในส่วนของบริเวณชั้นพื้นดินแทบทั้งหมดจะ
          อยู่บนเกาะกลางของถนน ซึ่งมักจะถูกใช้เป็นห้องควบคุม

          งานระบบต่าง ๆ ส่วนบริเวณทางเข้าจะเปลี่ยนไปตามแต่
          ภูมิสถาปัตยกรรมของบริเวณโดยรอบ และความเหมาะ
          สมของต�าแหน่งที่ตั้งในแต่ละพื้นที่ ซึ่งบริเวณทางเข้าและ
          บริเวณชั้นพื้นดินจะเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบการเดินรถน้อย
          ท�าให้การจัดท�า CRD มีจุดประสงค์หลักในการประสานงาน
          ของทุกส่วนที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ

          เดินรถ จะจัดท�าในส่วนที่มีผลต่องานที่เกี่ยวข้องกับการ
          เดินรถเป็นหลัก จึงเน้นไปที่อาคารสถานีบริเวณชั้นจ�าหน่ายตั๋ว
          และบริเวณชั้นชานชาลา โดยการจัดท�า CRD ด้วยแบบจ�าลอง
          BIM จะใช้ระดับความละเอียดที่ LOD400 เช่นเดียวกัน















                                               รูปที่ 8 องค์ประกอบของอาคารสถานี






          3. ผลการศึกษา                                      เพื่อตรวจสอบการจัดเรียงตัวของเหล็กเสริมคอนกรีตและลวด
                                                             อัดแรง ความสามารถในการเทคอนกรีต การติดตั้งงานระบบต่าง ๆ
            จากการด�าเนินการตามขั้นตอนที่กล่าวถึงในหัวข้อที่ 2 ท�าให้ โดยการจัดท�า CRD ท�าให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถเห็นรายละเอียด
          ได้ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ผลการจัดท�า CRD ของ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ สามารถพิจารณารายละเอียดร่วมกันใน
          คานทางวิ่ง, ผลของการจัดท�า CRD ของอาคารสถานี และปัญหา ทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง เมื่อการจัดท�า CRD เป็นที่เรียบร้อย จึงน�าไปสู่
          และความท้าทายที่พบ ซึ่งจะกล่าวในรายละเอียดดังต่อไปนี้   การจัดท�าแบบเพื่อการก่อสร้าง และส่งข้อมูลให้กับโรงงานผลิต

                                                             ชิ้นส่วนคอนกรีตส�าเร็จรูป ก่อนที่จะท�าการหล่อคอนกรีต แล้ว
            3.1 ผลของการจัดท�า CRD ของคานทางวิ่ง             น�าไปติดตั้งยังพื้นที่หน้างาน ดังที่แสดงในรูปที่ 10 ซึ่งการจัดท�า

            การจัดท�า CRD ของคานทางวิ่งด้วยแบบจ�าลอง BIM ที่ความ CRD จะช่วยลดข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นที่หน้างานได้เป็นอย่างดี
          ละเอียด LOD 400 แสดงให้เห็นรายละเอียดต่าง ๆ ในรูปแบบ     นอกจากนี้การพัฒนาการออกแบบคานทางวิ่งแบบคานต่อเนื่อง
          3 มิติ ดังที่แสดงในรูปที่ 9 ซึ่งจะเห็นถึงการรวมกันของรายละเอียด ซึ่งเป็นคานส�าเร็จรูป ทางบริษัทฯ ได้มีการพัฒนารายละเอียด

          ต่าง ๆ ประกอบด้วยมิติของคอนกรีต, เหล็กเสริมตามระยะจริง  และรูปแบบโครงสร้างจนสามารถจดเป็นอนุสิทธิบัตรเลขที่ 19072
          (เหล็กเสริมตามยาว, เหล็กเสริมตามขวาง และเหล็กเสริมพิเศษ),  ดังแสดงในรูปที่ 11 ซึ่งถือเป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่ส�าคัญของการ
          ลวดอัดแรงและท่อร้อยลวด, จุดรองรับที่มีจะมีทั้งรายละเอียด  ก่อสร้างระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวในประเทศไทย
          ที่เชื่อมต่อกับตอม่อและคานขวาง, ช่องเปิดและการเว้นระยะ


        30    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35