Page 26 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 26

การน�าแบบจ�าลองสารสนเทศอาคารมาใช้ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย (กรณีศึกษา: โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว)



          การด�าเนินการมีความท้าทายในด้านประสิทธิภาพกับความคุ้มค่า  แบบการออกแบบเบื้องต้น (preliminary design drawing) จาก
          การลงทุนในการก่อสร้าง การบ�ารุงรักษา ซ่อมแซม โดยการน�า   นั้นจึงมีการเสนอแบบดังกล่าวไปยังเจ้าของงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง
          BIM มาประยุกต์ใช้ในแต่ละขั้นตอน สิ่งที่ส�าคัญคือ การวางแผน  เพื่อพิจารณา ซึ่งเมื่อแบบข้างต้นได้รับการพิจารณาและรับข้อมูล
          การจัดการข้อมูล อีกทั้งการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล ดังนั้น  เพิ่มโดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการเดินรถ แบบก็จะ
          จุดประสงค์ของบทความนี้คือ การศึกษารูปแบบรวมถึงขั้นตอน  ถูกพัฒนาเป็นแบบการออกแบบรายละเอียด (detailed design

          ในการน�า BIM มาใช้ในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน โดย drawing) ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของแบบ
          รวมถึงการพัฒนา CRD ที่เป็นช่วงส่งผ่านระหว่างช่วงออกแบบ ในระดับความละเอียด LOD300 ถึง LOD400 จากนั้นจะเข้าสู่ขั้น
          ไปยังช่วงก่อสร้าง ยิ่งไปกว่านั้นยังมีการวิเคราะห์ปัญหาและความ ตอนการประชุมประสานงานระหว่างผู้ออกแบบหลักและผู้ปฏิบัติ
          ท้าทายที่เกิดขึ้นในการใช้ BIM เพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้นในการพัฒนา  การเดินรถ เพื่อตรวจสอบข้อขัดแย้งของแบบระหว่างกัน และน�า
          กรอบการท�างานของ BIM (BIM framework) ที่สามารถน�ามาใช้งาน  ไปสู่การพัฒนาเป็น CRD โดยมีขั้นตอนการด�าเนินการดังรูปที่ 3
          ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานได้จริงในอนาคตอีกด้วย       CRD จะเริ่มจากการพัฒนาแบบจ�าลองของแต่ละส่วนงาน และ

                                                             จากนั้นจึงท�าการตรวจสอบข้อขัดแย้ง (clash detection) ร่วมกัน
                                                             เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแบบจ�าลอง แล้วน�าไปพัฒนาจัด
            2. วิธีการศึกษา                                  ท�าแบบก่อสร้าง โดยการตรวจสอบความถูกต้องของ CRD จะมี

            ในหัวข้อนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนและรูปแบบในการจัดท�า CRD  3 ขั้นตอนดังนี้
          ของโครงการรถไฟฟ้ารางเดี่ยว โดยเริ่มตั้งแต่ภาพรวมและอธิบาย  1.  การตรวจสอบด้วยสายตา (visual check) จะต้องใช้
          รายละเอียดของการจัดท�า CRD ของคานทางวิ่งและงานสถานี  ประสบการณ์ของผู้ตรวจสอบแบบจ�าลอง เพื่อตรวจสอบและ

                                                             ตัดสินใจในการแก้ไขรายละเอียดส่วนต่าง ๆ เบื้องต้น
            2.1 ภาพรวมของโครงการและนิยามของ CRD                2.  การตรวจสอบด้วยโปรแกรม Navisworks โดยการก�าหนด

            จากกรณีศึกษาโครงการรถไฟฟ้ารางเดี่ยวซึ่งมีรูปแบบโครงการ  ขอบเขตเงื่อนไขข้อขัดแย้งของแบบจ�าลองในแต่ละระบบที่จะ
          เป็นสัญญาร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนหรือ PPP ที่ทางบริษัท  เกิดขึ้นได้ และใช้โปรแกรมท�าการตรวจสอบ โดยจะแบ่งออกเป็น
          ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ�ากัด (มหาชน)   2 รูปแบบ คือ hard clash ซึ่งเป็นการตรวจสอบวัตถุที่ซ้อนทับกัน
          เป็นผู้รับผิดชอบงานออกแบบและก่อสร้าง (design & build) โดยที่ และ clearance clash ซึ่งเป็นการตรวจสอบวัตถุที่อยู่ห่างกัน

          รูปแบบโครงการออกแบบและก่อสร้าง ที่เป็นงานโครงสร้างพื้นฐาน เกินกว่าที่ก�าหนด
          ในไทยยังมีจ�านวนน้อย ซึ่งจะมีความแตกต่างจากงานอาคารโดย  3.  การตรวจสอบด้วยอุปกรณ์ Visual Reality (VR) ซึ่งจะใช้
          ทั่วไปคือ จะมีผู้เกี่ยวข้องภายในโครงการเป็นจ�านวนมาก ตั้งแต่ หลังจากการตรวจสอบทั้ง 2 รูปแบบข้างต้นแล้ว โดยเป็นการน�า
          เจ้าของงานที่เป็นหน่วยงานภาครัฐ, ผู้รับสัมปทาน, ผู้รับเหมางาน เสนอผ่านประสบการณ์เสมือนจริง ที่จะท�าให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถ
          ออกแบบและก่อสร้าง (E.P.C contractor) และผู้ปฏิบัติการเดินรถ  เห็นภาพในรูปแบบสามมิติได้จริง ดังรูปที่ 4
          ท�าให้การก�าหนดขั้นตอนการท�างานและประสานงานถือเป็นสิ่ง

          ส�าคัญ บริษัทฯ จึงได้มีการจัดท�าแผนการจัดการงานออกแบบ
          (design management plan) ควบคู่กับแผนงานออกแบบ
          (design schedule) เพื่อใช้ในการก�าหนดบทบาท, หน้าที่ และ
          กระบวนการออกแบบ ที่จะท�าให้ได้แบบเพื่อการก่อสร้าง ที่ผ่านการ
          ตรวจสอบข้อขัดแย้งของแบบ (clash detection) ในทุกระบบงาน
          ทั้งในส่วนที่บริษัทฯ รับผิดชอบ และส่วนงานที่อยู่ในขอบเขตของ

          ผู้ปฏิบัติการเดินรถ (trackwork operator) เพื่อให้ได้แบบก่อสร้าง
          ที่สามารถน�าไปใช้ในการก่อสร้างได้จริง
            กระบวนการออกแบบจะเริ่มต้นจากการได้รับการออกแบบเชิง
          แนวคิด (concept design) และข้อก�าหนดการออกแบบ (design
          requirement) จากเจ้าของงาน และน�ามาพัฒนาการออกแบบเป็น  ภาพจาก : https://www.home.co.th/hometips/topic-13808



        26    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31