Page 37 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 37

การน�าแบบจ�าลองสารสนเทศอาคารมาใช้ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย (กรณีศึกษา: โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว)


            4. สรุปผลการศึกษา



              บทความนี้ได้น�าเสนอภาพรวมในการน�า BIM มาใช้ในโครงการ ในการน�า BIM มาใช้ในโครงการ ที่สอดคล้องกับงานวิจัยต่าง ๆ
            ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย ในบทความนี้ได้น�า ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
            โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยว ซึ่งเป็นการร่วมทุนระหว่างรัฐ  3. อุปสรรคและข้อจ�ากัดที่เกิดขึ้น สามารถเปลี่ยนเป็นความ
            และภาคเอกชนมาเป็นกรณีศึกษา ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ ท้าทาย (challenge) ในการน�า BIM มาใช้ในโครงการก่อสร้างในไทย
               1. การน�า BIM มาใช้ในโครงการยังมีข้อจ�ากัดที่ท�าให้เกิดการ  ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการวางแผนการท�างาน ทั้งในภาพรวมโครงการ

            ใช้งานภายในบริษัทเป็นหลัก แต่ก็มีประโยชน์ต่อการท�างาน  และการใช้งาน BIM ที่ควรมีการก�าหนดกรอบการท�างานของ
            ที่ช่วยเพิ่มความถูกต้องของแบบที่ประกอบด้วยส่วนงานเป็นจ�านวน แบบจ�าลองเทคโนโลยีสารสนเทศอาคารหรือ BIM Framework
            มาก ช่วยลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในงานก่อสร้าง และท�าให้ ที่ชัดเจน รวมไปถึงต้องมีการให้ความรู้และการรับรู้เกี่ยวกับ BIM
            ผู้เกี่ยวข้องสามารถพิจารณาตัดสินใจร่วมกันโดยมุมมองจากแบบ แก่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะท�าให้การน�า BIM มาใช้ให้ประสบความ
            จ�าลอง 3 มิติ ร่วมกันได้ง่ายขึ้น                   ส�าเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการนั้น ๆ ต่อไป
               2. อุปสรรคและข้อจ�ากัดที่เกิดขึ้นในโครงการ ทั้งในส่วนของ  4. นอกจากนี้ จากการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศอาคารหรือ

            ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนกระบวนการท�างานมาเป็น BIM ในเรื่อง BIM มาใช้ในงานโครงสร้างพื้นฐานยังมีจ�านวนน้อยในประเทศไทย
            การขาดข้อก�าหนดที่ชัดเจนจากเจ้าของงาน, การขาดข้อก�าหนด  การศึกษานี้จึงจะเป็นหนึ่งในจุดเริ่มต้นในการน�า BIM มาใช้ในงาน
            ที่ชัดเจนของ BIM และความเคยชินต่อวิธีการท�างานในรูปแบบ โครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย ซึ่งที่ผ่านยังไม่เคยมีผู้ศึกษาและ
            เดิมของบุคลากร และปัญหาที่เกิดขึ้นจากรูปแบบโครงการอัน ก�าหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน จึงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
            ได้แก่ ความซับซ้อนของรูปแบบโครงการ และข้อจ�ากัดในส่วนของ และผู้สนใจในการน�าการศึกษานี้ไปประยุกต์ใช้ได้ในอนาคตต่อไป

            ระยะเวลาการก่อสร้างนั้น ซึ่งปัญหาถือเป็นเรื่องปรกติที่จะเกิดขึ้น




               กิตติกรรมประกาศ

               ผู้เขียนขอขอบคุณ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ�ากัด ที่ให้การสนับสนุนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ







               เอกสารอ้างอิง


               [1]   จุไรลักษณ์ เอี้ยวพันธ์, สาวิตรี วาระค�า (2559). การวิเคราะห์การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน. ส�านักงบประมาณของ
                   รัฐสภา ส�านักงานเลขาธิการผู้แทนราษฎร, หน้า 1-4.
               [2]   สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (2558). แนวทางการใช้งานแบบจ�าลองสารสนเทศอาคารส�าหรับประเทศไทย
                   ฉบับปี พ.ศ.2558.

               [3]   Bradley, A., Li, H., Lark, R., & Dunn, S. (2016). BIM for infrastructure: An overall review and constructor
                   perspective, Automation in Construction, 71, 139-152.
               [4]   Building SMART (2019). Common infraBIM requirements YIV, Infra Infrastructure business group.
               [5]   Japan Monorail Association (2019). Future of Urban Travel. Retrieved from http://www.nihon-monorail.
                   or.jp/assets/pdf/2019english.pdf.

               [6]   Sirisonthi, A., Suparp, S., Joyklad, P., Hussain, Q., and Julphunthong, P. (2021). Experimental study of the
                   load-deformation behaviour of the precast post-tensioned continuous girder for straddle monorail:



                                                                                                    วิศวกรรมสาร  37
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42