Page 54 - SUSTAINABILITY REPORT 2020
P. 54
การพัฒนาความยั่งยืนธนาคารออมสิน
GSB Sustainability Development
ธนาคารออมสินในฐานะสถาบันการเงินชั้นนำาด้านการพัฒนาความยั่งยืนได้มีความตระหนักต่อบทบาทการเป็นธนาคาร
เพื่อสังคม หรือ Social Bank ที่สำาคัญ เพื่อตอบสนองต่อความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสำาคัญ อันนำาไปสู่การพัฒนา
การดำาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance : ESG) อย่างมีประสิทธิภาพ
ท่ามกลางสถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และปัญหาความท้าทายสำาคัญต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ สงครามการค้า การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) เป็นต้น จากสถานการณ์ดังกล่าว ธนาคารออมสินจึงได้มี
การทบทวนถึงยุทธศาสตร์การดำาเนินงานของธนาคาร การมุ่งมั่นเป็นธนาคารเพื่อสังคมอย่างเต็มรูปแบบ ตลอดจนการยกระดับ
เรื่องการพัฒนาความยั่งยืนของธนาคารตามมาตรฐานสากลต่าง ๆ ที่สำาคัญ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
As a leading financial institution in sustainability development, GSB is aware of its important role as a social bank to respond
to the expectations of key stakeholders and efficient economic, social and environmental development amidst the rapidly changing
global situations and major challenges such as climate change, trade war, and the COVID-19 outbreak, etc. As a result, GSB has
reviewed the Bank's operational strategy to restate its commitment to be a full-fledged social bank as well as upgrading the Bank's
sustainability development in accordance with international standards, with the following details:
ยุทธศาสตร์การดำาเนินงานของธนาคาร
GSB Operational Strategy
1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม / Vision, Missions and Core Values
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง "พอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน ควบคู่กับมีความรู้และคุณธรรม"
Sufficiency Economy Philosophy “Moderation, reasonableness, and self-immunity, together with knowledge and morality”
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
20 Year National Strategy (2018-2037)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยนวัตกรรมเพื่อยกระดับประเทศไทยให้หลุดพ้นจากกับดัก
ยึดคนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 3 ประการ คือ 1) กับดักรายได้ปานกลาง 2) กับดักความเหลื่อมลำ้า
th
12 National Economic and Social Development 3) กับดักความไม่สมดุล ผ่านกลไก 3 ด้าน คือ
Plan: people-centered development approach to Drive the Thai economy with innovation to uplift Thailand out of 3 economic traps:
realize the desired goal. 1) Middle-income trap 2) Inequality trap
3) 3 aspects of imbalance trap namely
Productive
Inclusive
แผนการปฏิรูปประเทศ Thailand 4.0 Growth Engine Growth Engine Growth Engine
Green
กำาหนดทิศทางปฏิรูปประเทศ เพื่อวางรากฐาน
การพัฒนาประเทศ
National Reform Plan: Set the reform direction to แผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy: DE)
lay the foundation of national development
1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงครอบคลุมทั่วประเทศ
Developing nationwide high-capacity digital infrastructure
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 2 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
Sustainable Development Goals SDGs Driving the economy forward with digital technology
มองการพัฒนาเป็นมิติ (Dimensions) ของเศรษฐกิจ 3 สร้างสังคมคุณภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
Creating a quality society with digital technology
สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้มีความเชื่อมโยงกัน ยุทธศาสตร ์ Strategy 4 ปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
Sustainable Development Goals (SDGs) Transitioning into a digital government
View development from the economic, social, 5 พัฒนากำาลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
Developing workforce for the digital era
and environmental dimensions as a whole
6 สร้างความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยี
Building trust and confidence in the adoption of digital technology
แผนยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจภาพรวม แผนยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจ สาขาสถาบันการเงิน
Overall Enterprise Plan Strategic Plans of Financial Institution State Enterprises
แผนวิสาหกิจธนาคารออมสิน
Key Strategic 2563-2567
Market
Changes Technology Change Customer Regulatory Challenges GSB Enterprise Plan
Change
Change
Change
& Advantages
2020-2024
48 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม GSB SOCIAL BANK