Page 85 - SUSTAINABILITY REPORT 2020
P. 85
ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ สาขามวกเหล็ก Solar Power Generation System, Muak Lek Branch
1. ขนาดกำาลังการผลิต 12kW 1. Production Capacity of 12kW.
2. แผงโซล่าเซลล์ชนิด Poly crystalline 2. Poly crystalline solar cells.
3. ใช้พื้นที่ติดตั้งประมาณ 80 ตารางเมตร (7 ตร.ม./kw) 3. The installation area is approximately 80 sqm. (7 sqm./kw).
4. เปิดใช้งานเดือน มกราคม 2560 4. Operated in January 2017.
5. ติดตั้งชั้นดาดฟ้า 5. Rooftop installation.
6. ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 1,700 kWh/เดือน 6. Generate electricity of 1,700 kWh/month.
7. ลดค่า Peak Demand 7. Reduce Peak Demand.
8. อายุการใช้งานของโซล่าเซลล์ประมาณ 25 ปี 8. The service life of solar cells is about 25 years.
9. เกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงพลังงานแนะนำาว่าเหมาะสม 9. Payback periods that are suitable for investment
แก่การลงทุน คือ ระยะเวลาคืนทุน 7-10 ปี recommended by the Ministry of Energy are 7-10 years.
10. จุดคุ้มทุนควรวิเคราะห์ทั้งด้านการเงินและทางด้าน 10. The break-even point should be analyzed both financially
เศรษฐศาสตร์ and economically.
การเลือกใช้วัสดุประกอบอาคาร Solar Power Generation System, Muak Lek Branch
• ผนังคอนกรีตมวลเบา • Low-density concrete walls
ผนังคอนกรีตมวลเบานั้น มีคุณสมบัติในการเป็นฉนวน Low-density concrete walls with heat insulating property
ป้องกันความร้อน เนื่องจากโครงสร้างภายในนั้นมีรูพรุน because there are small pores distributed throughout its
ขนาดเล็กกระจายตัวอยู่ทั่ว ทำาให้สามารถลดความร้อน internal structure. This can reduce the heat that radiates into
ที่แผ่เข้าสู่อาคารได้ the building.
• กระจกนิรภัยกันความร้อน • Heat-reflecting safety glass
กระจกนิรภัยกันความร้อน ใช้เทคโนโลยีเซรามิกโค้ดติ้ง Heat-reflecting safety glass uses ceramic coding technology,
ที่ช่วยลดรังสีอินฟราเรดได้ถึง 98% และลดรังสียูวีได้ถึง 99% shielding 98% of infrared and 99% of UV, while allowing 70%
อีกทั้งแสงยังสามารถส่องผ่านได้ถึง 70% ทำาให้ช่วยกัน of natural light, thereby reducing the use of air-conditioners and
ความร้อนที่จะเข้าสู่อาคารโดยที่ยังสามารถเปิดรับแสงจาก light bulbs.
ธรรมชาติได้ด้วยการใช้งานกระจกที่มีคุณสมบัติ ทำาให้ช่วย
ลดภาระของเครื่องปรับอากาศ และช่วยลดการใช้แสงสว่าง
จากหลอดไฟได้อีกด้วย
การวางผังอาคาร Building Layout
การวางผังอาคารนั้น ผู้ออกแบบได้ทำาการศึกษาทิศทาง Regarding the building layout, the designer has studied
ของแดดจากผังสุริยะ (Sun Chart) และทำาการวางผังอาคาร the direction of sunlight from the Solar Chart and arranged
ให้ด้านแคบของอาคาร อยู่ในตำาแหน่งทิศตะวันตกและ the narrow side of the building to be in the western and eastern
ทิศตะวันออก เพื่อให้ได้รับความร้อนน้อยที่สุด และผนังใน sides to obtain the least amount of heat. Meanwhile, the wall on
ฝั่งทิศใต้ ซึ่งรับแดดมากกว่าทางทิศเหนือจะมีการเปิดช่องแสง the southern side, which receives more sunlight than the north,
จำานวนไม่มากและใช้วัสดุที่ช่วยป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคาร is designed with fewer clerestories and the use of heat insulating
การจัดผังภายในของอาคาร ผู้ออกแบบได้นำาพื้นที่ใช้สอย materials that prevent heat from entering the building.
For internal layout of the building, the designer has placed
ที่ไม่มีการใช้เครื่องปรับอากาศ เช่น ห้องนำ้า ห้องงานระบบ non-air-conditioned areas such as bathrooms, control rooms
และบันได ไว้บริเวณด้านทิศตะวันตก เพื่อเป็นตัวบล็อก and stairs on the western side to block heat from entering
ความร้อนที่จะเข้าสู่ห้องปรับอากาศ อีกทั้งนำาห้องนำ้า และเพนทรี air-conditioned rooms. Meanwhile, bathrooms and pantries,
ที่มีความชื้น แยกส่วนกับส่วนปรับอากาศ เพื่อลดการทำางาน which are damp areas, are separated from air-conditioned areas
ของเครื่องปรับอากาศอีกด้วย to reduce the operation of the air conditioner.
ภายนอกอาคารนั้น ลดพื้นที่ที่เป็น Hardscape และ Hardscape areas outside the building are minimized
เพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อลดการคายความร้อนจากพื้นคอนกรีต while increase the green area to reduce heat emission from
ภายนอกอาคาร the concrete floor outside the building.
GSB SOCIAL BANK SUSTAINABILITY REPORT 2020 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำาปี 2563 79