Page 90 - SUSTAINABILITY REPORT 2020
P. 90
ผู้ประกอบการที่สนใจเข้าร่วมโครงการจะต้องส่งข้อเสนอโครงการย่อย (Proposal) และแผนการจัดการเครื่องมือ/อุปกรณ์เดิม
(Disposal Plan) รวมทั้งแผนจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Plan : EMP) ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมพิจารณา
และตรวจสอบพร้อมทั้งยืนยันสิทธิ์การได้รับเงินช่วยเหลือ หลังจากนั้นส่งให้ธนาคารจัดทำารายงานประเมินโครงการย่อย (Appraisal
Report) และจัดทำาสัญญาตลอดจนเบิกจ่ายเงินช่วยเหลือให้แก่ผู้ประกอบการตลอดระยะเวลาการดำาเนินโครงการ
ดังนั้น นับได้ว่าโครงการนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการมีส่วนร่วมรณรงค์และสร้างจิตสำานึก
ให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำาคัญของชั้นบรรยากาศโอโซน และช่วยลดภาวะโลกร้อนอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งสอดคล้องกับ
นโยบายธนาคารยุคใหม่มุ่งช่วยเหลือสังคมในบทบาท Social Bank
Operators interested to participate in the project must submit proposals and disposal plans for management of their existing
tools/equipment, and environmental management plan (EMP) to the Department of Industrial Works for consideration and review
as well as confirm their right to receive the financial grants. Then the documents shall be submitted to the Bank for preparation
of appraisal reports and contracts, as well as disburse payments to operators throughout the project implementation period.
Therefore, the project would greatly benefit the communities and the environment, promote the campaign and raise awareness
among people to realize the importance of the ozone layer and help reduce global warming. This is in line with the Bank's policy
to support the society in the role of Social Bank.
กิจกรรม CSR เพื่อสิ่งแวดล้อม ประจำาปี 2563
CSR Activities for the Environment in 2020
1 โครงการฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์นำ้าชายฝั่ง เพื่อความเข้มแข็งของชุมชนประมงพื้นบ้าน
จังหวัดปัตตานี ภายใต้โครงการ “ออมสินสร้างบ้านปลา รักษาทะเลไทย”
Coastal Animals Rehabilitation Project to strengthen the local fishing communities
in Pattani Province under “GSB Fish Home Building to Preserve Thai Sea” Project
ธนาคารสนับสนุนการสร้างปะการังเทียม ชนิดแท่งคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด 1.5 x 1.5 x 1.5 เมตร
ตามมาตรฐานของกรมประมง ภายใต้โครงการ “ออมสินสร้างบ้านปลา รักษาทะเลไทย” เพื่อความเข้มแข็ง
ของชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดปัตตานี และเพื่อสนับสนุนแหล่งอาศัยของทรัพยากรสัตว์นำ้า
ตามพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ซึ่งธนาคารให้การสนับสนุนโครงการนี้
มาตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปี 2563 นับเป็นครั้งที่ 9 โดยสนับสนุนการสร้างปะการังเทียมชนิดแท่งคอนกรีต ฟื้นฟูทรัพยากร
ตามมาตรฐานของกรมประมง จัดวางปะการังเทียม ณ พิกัดชายฝั่งทะเล บ้านปาตาบาระ อำาเภอสายบุรี สัตว์นำ้าด้วยปะการัง
จังหวัดปัตตานี จำานวนรวมกว่า 3,051 แท่ง คิดเป็นระยะทางปะการังเทียมยาว 4.375 กิโลเมตร เทียมจำานวนรวมกว่า
โครงการนี้ นอกจากจะเป็นการช่วยฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์นำ้าชายฝั่งให้อุดมสมบูรณ์ ส่งประโยชน์ 3,051 แท่ง
ในด้านการออมสิ่งแวดล้อมโดยตรงแล้วยังตอบโจทย์การออมสังคมไปพร้อม ๆ กัน เพราะประชาชน คิดเป็นระยะทาง
สามารถกลับมาประกอบอาชีพประมงชายฝั่งได้เหมือนเดิม โดยไม่ต้องออกไปประกอบอาชีพนอกพื้นที่ 4.375 กิโลเมตร
และประเทศเพื่อนบ้าน ชาวประมงพื้นบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจับสัตว์ทะเล รวมทั้งมีรายได้จาก Rehabilitate
การรับจ้างในท้องถิ่นของตนเอง มีการสร้างงาน สร้างรายได้ และสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนให้แก่ชุมชน coastal animals by
building artificial
ตลอดจนสร้างความรัก ความสามัคคีให้เกิดขึ้นในชุมชนอย่างแน่นแฟ้น โดยมีการประเมินผู้รับประโยชน์ corals of more than
เป็นประชาชนในพื้นประมาณ 2,000 ครัวเรือน ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล อำาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 3,051 blocks,
representing
a distance of 4.375
kilometers.
84 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม GSB SOCIAL BANK