Page 56 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 56
การดำาเนินงานด้าน ESG ที่สำาคัญของธนาคาร 102-13
(ESG Approach)
financial inclusion การทำาให้คนในสังคมโดยเฉพาะกลุ่มฐานรากสามารถเข้าถึง
FINANCIAL บริการทางด้านการเงินที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ เช่น การให้เงินกู้เสริมพลังฐานราก
INCLUSION
ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) 10,000 บาท และ
50,000 บาทต่อรายผ่าน MYMO เป็นต้น
Impact Investment การลงทุนให้สินเชื่อที่สร้างผลกระทบ (Impact) แก่สังคม
IMPACT โดยเฉพาะการเข้าไปลดต้นทุนทางการเงินแก่คนในสังคม เช่น สินเชื่อจำานำาทะเบียนรถ
INVESTMENT
ด้วยต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งเป็นกลไกหลักของรัฐในการเข้าไปลดอัตราดอกเบี้ยที่สูงเกินจริง
ในตลาดให้ตำ่าลงและอยู่ในระดับที่เหมาะสม เป็นต้น
Exclusion การไม่สนับสนุนบริการทางการเงินแก่ธุรกิจที่สร้างผลกระทบเชิงลบแก่สังคม
EXCLUSION (Negative List)
Positive List สนับสนุนธุรกิจที่เป็นธุรกิจที่สร้างผลกระทบเชิงบวกแก่สังคม เช่น การ
ร่วมกับสมาคมธุรกิจเพื่อสังคม หรือ “SE Thailand” เพื่อสนับสนุนสินเชื่อให้กับบริษัท
POSITIVE ขนาดเล็กที่แข็งแรงและมีความสามารถในชำาระหนี้ให้กับธนาคารได้ การปล่อยสินเชื่อ
LIST
อัตราดอกเบี้ยตำ่า ปล่อยสินเชื่อวงเงินไม่มาก โดยไม่ต้องมีหลักประกัน การคิดอัตราดอกเบี้ย
เท่าทุน เป็นต้น
ESG score (อยู่ระหว่างดำาเนินการ) การพัฒนาการให้คะแนนด้าน ESG เพื่อการ
พิจารณาดอกเบี้ยกับลูกค้าธุรกิจที่จะขอสินเชื่อ ตัวอย่างเช่น ลูกค้าธุรกิจที่มี ESG Score
ESG ที่ดี มีความเสี่ยงตำ่า เมื่อขอสินเชื่อจะได้รับการพิจารณาดอกเบี้ยที่ 5% ลบอีก 0.5% และ
SCORE
ในทางตรงข้ามหากลูกค้าธุรกิจที่มี ESG score ตำ่ามาก มีความเสี่ยงสูง เป็นบริษัทที่มี
ปัญหาสังคม สิ่งแวดล้อม และธรรมาภิบาล อาจจะไม่ได้รับการพิจารณาปล่อยสินเชื่อ หรือ
ถ้าลูกค้าธุรกิจมี ESG score ในเกณฑ์ตำ่า แต่อยู่ในระดับไม่ตำ่ามากนัก อาจพิจารณา
เพิ่มดอกเบี้ยขึ้นไปตามลำาดับ เป็นต้น
นอกจากนี้ ธนาคารออมสินยังได้มีการดำาเนินงานความรับผิดชอบในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ที่สอดคล้องและเกี่ยวข้อง
กับประเด็นความยั่งยืนที่มีนัยสำาคัญต่าง ๆ โดยมีรายละเอียดทั้งการดำาเนินงาน และผลการดำาเนินงาน หัวข้อ เกี่ยวกับธนาคารออมสิน
หัวข้อย่อย "ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ ปี 2563"
52 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม