Page 55 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 55
การดำาเนินงานตามนโยบายสนับสนุนการธนาคาร 102-12
เพื่อความยั่งยืน (Sustainable Banking) ของธนาคาร
แห่งประเทศไทย
จากปัญหาความท้าทายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับโลกที่ยังคงส่งผลกระทบต่อด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันเป็น
ความท้าทายสำาคัญต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกร่วมกันนั้น ธุรกิจภาคสถาบันการเงินถือเป็นภาคส่วนหนึ่งที่สำาคัญในการถูกคาดหวัง
จากสังคมเป็นอย่างมาก ที่จะปรับเปลี่ยนบทบาทการดำาเนินงาน ทั้งการสนับสนุนองค์กรธุรกิจส่วนต่าง ๆ ให้คำานึงถึงการดำาเนิน
ธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล รวมถึงการมีส่วนช่วยผลักดันให้ภาคส่วนอื่น ๆ มีการดำาเนินงานในทิศทาง
ที่นำาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ในฐานะผู้กำากับดูแลสถาบันการเงินได้ตระหนักถึงความสำาคัญด้านความยั่งยืน จึงได้
กำาหนดประเด็นด้านความยั่งยืนเป็นประเด็นท้าทายในแผนยุทธศาสตร์ ปี 2563-2565 โดยระบุว่าในการดำาเนินงานต้องคำานึงถึง
ความยั่งยืน ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล และกำาหนดนโยบายส่งเสริมให้ระบบสถาบันการเงินไทย ตระหนักและให้
ความสำาคัญตามหลักการธนาคารเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Banking) ภายใต้แนวคิด “การเงินเพื่อความยั่งยืน”
ธนาคารออมสิน ในฐานะสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ภายใต้การกำากับดูแลของกระทรวงการคลังที่ได้มอบหมายให้ ธนาคาร
แห่งประเทศไทย (ธปท.) ตรวจสอบและการกำากับดูแล ได้ให้ความสำาคัญต่อการดำาเนินงานที่รับผิดชอบทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สังคม
และธรรมาภิบาล โดยถือเป็นพื้นฐานการดำาเนินงานอันมุ่งไปสู่การเป็นธนาคารเพื่อสังคมอย่างเต็มรูปแบบและเป็นรูปธรรม โดยมี
การกำาหนดการดำาเนินงานที่สำาคัญต่าง ๆ ดังนี้
โครงการออมสินขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อสังคม
สนับสนุนสินเชื่อผู้ประกอบการธุรกิจเพื่อสังคม
MOU 2 ธ.ค. 63
สินเชื่อดอกเบี้ย
ที่เป็นธรรม
POSITIVE
LIST GSB SCORE VS LENDING
ESG
FINANCIAL SCORE
INCLUSION Credit Interest Rate + Modifier
Analysis Determination
ESG IMPACT
APPROACH INVESTMENT
EXCLUSION
สินเชื่อจำานำาทะเบียนรถ
ไม่ ทำาธุรกิจซื้อของ
ให้สินเชื่อ
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563 51