Page 63 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 63
2.5.9) สรุปลักษณะของเมืองและการจัดการน้ำของเขมรโบราณ
จะเห็นได3วFาในชFวงตั้งแตFการสร3างเมืองหริหราลัย (ราวพุทธศตวรรษที่ 14) จนถึงสมัย
บายน (ราวพุทธศตวรรษที่ 18) ราชสำนักกัมพูชาโบราณมีการพัฒนาเมืองและแหลFงน้ำอยูFตลอดเวลา
การสร3างเมืองหลวงนั้นยFอมอิงอยูFกับความเชื่อทางศาสนา โดยมีศาสนบรรพต (ปราสาทที่ตั้งอยูFบน
ฐานเปSนชั้น) เปSนศูนยUกลางของบ3านเมือง เปรียบดั่งเขาพระสุเมรุภูเขาศักดิ์สิทธิ์ศูนยUกลางของโลก
มีการกFอคันดิน ขุดคูคลอง และสร3างอFางเก็บน้ำขนาดใหญFหรือบารายเพื่อเปSนสัญลักษณUของทะเล
ศักดิ์สิทธิ์ และเพื่อประโยชนUในการอุปโภคบริโภคของชาวเมืองโดยเฉพาะในการเกษตรกรรม (ตาราง
ที่ 1) มีการสร3างปราสาทขนาดยFอม ๆ (เล็กกวFาศาสนบรรพตและตั้งอยูFบนฐานชั้นเดียว) เพื่อถวายแดF
บรรพบุรุษ เทพเจ3าในศาสนาพราหมณU - ฮินดู หรือพระพุทธเจ3าและพระโพธิสัตวUเนื่องในพุทธศาสนา
(นิกายวัชรยาน) โดยที่ปราสาทเหลFานี้มักมีคูน้ำล3อมรอบ และมีอFางเก็บน้ำขนาดไมFใหญFนักหรือ
ตระพังอยูFทางทิศตะวันออก (ภาพที่ 34)
ตารางที่ 1 แสดงคุณลักษณะของบารายและคูน้ำล3อมรอบปราสาทและเมือง
(ดัดแปลงจาก: Dagens, 2003: 51)
สัดสFวน
บาราย/ กว3าง ยาว คันดินสูง/ ความจุ
3
คูน้ำปราสาท รัชกาลของพระเจ3า (km.) (km.) ความกว3าง คูน้ำลึก (m.) (ล3าน m. )
ตFอความยาว
อินทรตฏากะ อินทรวรมันที่ 1 0.7 3.8 1 : 5.4 3 10
ยโศธรตฏากะ ยโศวรมันที่ 1 1.72 7.2 1 : 4.2 4-5 36 - 50
ระฮาล (ละหาน) ชัยวรมันที่ 4 0.53 1.1 1 : 21 - 2.5
ราเชนทรวรมัน/
สระสรง 0.35 0.7 1 : 2 - -
ชัยวรมันที่ 7
สูรยวรมันที่ 1 –
บารายตะวันตก 2.1 8 1 : 3.8 2.5-4 42 - 72
อุทัยทิตยวรมันที่ 2
คูน้ำปราสาท สูรยวรมันที่ 2 1.3 1.5 - - 5
นครวัด
ชัยตฏากะ ชัยวรมันที่ 7 0.9 3.5 1 : 3.9 3 10
คูน้ำเมืองนครธม ชัยวรมันที่ 7 3 3 - 4 5
56