Page 64 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 64

ภาพที่ 34 สระน้ำ คูน้ำ แนวคันดินคูคลอง บริเวณเมืองพระนคร (ดัดแปลงจาก Evans et al., 2007. Fig.1)
                                         (1)  เนินดินและสระน้ำของชุมชน     (2)  แนวคูคลองสFงน้ำ
                                         (3)  คันดิน (ถนน) และคลอง    (4)  คูน้ำล3อมรอบปราสาท


                           โดยจากการศึกษาระบบการจัดการน้ำที่เมืองพระนครของมัตติ กุมมุ (Matti Kummu)

                    ได3แบFงประเภทของการกักเก็บน้ำไว3 3 ระดับ (Kummu, 2009: 1416) คือ
                           1)  ระดับครัวเรือน (household level) มีการขุดบFอน้ำขนาดเล็ก ๆ หรือคูน้ำล3อมรอบ

                               เนินดิน โดยให3มีความลึกลงไปถึงระดับน้ำใต3ดิน เพื่อกักเก็บน้ำไว3ใช3ในฤดูแล3ง

                           2)  ระดับหมูFบ3าน (Village level) มีการขุดอFางเก็บน้ำหรือตระพังอยูFใกล3 ๆ กับศาสนสถาน
                               โดยมีสัดสFวนความกว3างตFอความยาวเทFากับ 1 : 2 และมักวางตัวตามแกนทิศ

                               ตะวันออก-ตะวันตก ปราสาทสFวนใหญFยังมีคูน้ำล3อมรอบซึ่งคูน้ำนี้ก็ถูกขุดให3ลึกไปจนถึง

                               ระดับน้ำใต3ดินด3วย
                           3)  ระดับเมือง (city level) มีการสร3างบาราย (ไมFได3มีสัดสFวนความกว3างตFอความยาว

                               เทFากับ 1 : 2) โดยกFอคันดินล3อมรอบพื้นที่อันกว3างขวางเพื่อกักเก็บน้ำที่ไหลมาจาก

                               แมFน้ำสายตFาง ๆ รวมทั้งน้ำฝน ทั้งยังมีแนวคันดินบังคับน้ำ (สูงประมาณ 1-2 เมตร)
                               และคูคลองสFงน้ำ (ลึก 1 - 2 เมตรจากผิวดิน และกว3างราว 30 - 40 เมตร)







                                                            57
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69