Page 65 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 65
มัตติ กุมมุ ยังชี้ให3เห็นวFา บFอน้ำ ตระพัง บาราย รวมทั้งแนวคูคลองที่เมืองพระนครนั้น
(ภาพที่ 35) ไมFเพียงแตFรองรับน้ำจากแมFน้ำ (ได3แกF โรลัวะ เสียมเรียบ และสตึงปวก ที่มีจุดกำเนิดมา
จากพนมกุเลน) หรือพึ่งพาน้ำฝนตามฤดูกาลเทFานั้น แตFยังต3องอาศัยน้ำใต3ดินด3วยโดยเฉพาะกรณีคูน้ำ
ล3อมรอบปราสาทซึ่งไมFมีทางน้ำไปตFอเชื่อมกับลำน้ำธรรมชาติ โดยระดับน้ำใต3ดินบริเวณเมือง
พระนครอยูFที่ความลึกประมาณ 0 – 5 เมตรในฤดูฝนและฤดูแล3งตามลำดับ (Kummu, 2009: 1415)
ภาพที่ 35 แผนผังแสดงลักษณะของคูน้ำ ตระพัง และบาราย ในประเทศกัมพูชา (โดยเฉพาะเมืองพระนคร)
(ที่มา: Kummu, 2009: Fig.3)
สFวนการศึกษาพื้นที่เกษตรกรรมหรือแปลงนารอบ ๆ ปราสาทบริเวณเมืองพระนครนั้น
สก็อต ฮอวUเกน (Scott Hawken) อธิบายไว3อยFางนFาสนใจวFามีแปลงนา 2 ระบบในสมัยเขมรโบราณ
(Hawken, 2013: 350 – 364) คือ
1) แปลงนาสี่เหลี่ยมมุมฉาก (ทั้งจัตุรัสและผืนผ3า) หรือ orthogonal (square/rectilinear)
system ซึ่งแตFละแปลงมักวางตัวขนานกันตามแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก คือขนานไปกับ
ปราสาท ตระพัง หรือบาราย โดยแปลงนาสี่เหลี่ยมจัตุรัสมักมีขนาดกว3าง 30 – 40 เมตร ตัวอยFางเชFน
58