Page 107 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 107

หลักฐานสอดคล้องกับข้อมูลข้างต้น เพราะในหลุมขุดค้นขนาด 2x8 เมตรพบโบราณสถานสมัย
                       ทวารวดี 3 แนว โดยชั้นดินลึกสุดเป็นชั้นฐานรากอาคารโบราณสถาน (ลึกราว 160 เซนติเมตร
                       จากพื้นผิวดิน) ในชั้นดินนี้มีก้อนหินปูนทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่กว่า 40 เซนติเมตรวาง

                       กระจายทั่วพื้นที่รวมทั้งใต้แนวอิฐชั้นสุดท้าย ซึ่งน่าจะเกิดจากการน าก้อนหินปูนเหล่านี้มาถม

                       พื้นที่เพื่อเตรียมการก่อสร้างโบราณสถานและอาจใช้เป็นแนวรองรับน ้าหนักของอาคารได้ส่วน
                       หนึ่งด้วย ถัดขึ้นมาคือระดับชั้นดินช่วงที่มีการใช้งานโบราณสถานในชั้นดินนี้พบชั้นของปูนขาว
                       หนา 10 เซนติเมตรซึ่งน่าจะเกี่ยวข้องกับการปรับพื้นที่หรือเตรียมการก่อสร้างอาคารเพิ่มเติม

                       และได้พบโบราณวัตถุแบบสมัยทวารวดีหลายชิ้น ส่วนตอนบนสุดเป็นชั้นดินช่วงที่มีการทิ้งร้าง

                                                          4
                       โบราณสถานหรือแหล่งโบราณคดีไปแล้ว  (ภาพที่ 56 - 58)
















                            ภาพที่ 56 โบราณสถานที่พบจากการขุดค้นที่เมืองอู่ทอง (ภาพจากโปรแกรม photogrammetry)



























                              ภาพที่ 57 แผนผังแสดงการวางฐานรากของโบราณสถานที่พบจากการขุดค้นที่เมืองอู่ทอง










                                                               101
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112