Page 237 - คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษาในประเด็นด้านสิทธิเด็กและการรู้รับปรับตัวในภาคการศึกษา
P. 237
ดินถล่ม (Landslide) ใบความรู้ประกอบใบงานสําหรับผู้เรียน
การเกิดดินถล่มมีปัจจัยสำคัญมาจากภาวะฝนตกหนัก พื้นที่เสี่ยงดินถล่มคือบริเวณที่ลาดเชิงเขาใกล้ลำห้วย
อย่างต่อเนื่องบนที่ลาดเชิงเขา ที่เป็นพื้นที่ซึ่งไม่มีรากไม้ มีร่องรอยดินไหล ดินเลื่อน หรือร่องดินถล่มอย่างใดอย่างหนึ่ง
ยึดเกาะหน้าดิน เมื่อเกิดฝนตกหนักจะทำให้ดินอุ้มน้ำ หรืออาจมีทั้งหมด ซึ่งร่องรอยเหล่านี้สามารถสังเกตได้
มากขึ้นเรื่อย ๆ จนไม่สามารถอุ้มน้ำไว้ได้จึงพังถล่ม ตามชั้นตะกอนของร่องน้ำหรือพื้นที่บริเวณนั้น จะมีหิน
และเลื่อนไหลลงมาจากที่ลาดชัน ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ปะปนกับทราย โคลน รวมทั้ง
มีซากของต้นไม้ กิ่งไม้ นอกจากนี้ ต้นไม้บริเวณนั้นจะมี
. มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง (นานกว่า 6ชั่วโมง โคนลำต้นเอียงแต่ปลายยอดลำต้นตั้งตรง
สัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดดินถล่ม
.
หรือมากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน)
. ระดับน้ำในห้วยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
. น้ำในห้วยเปลี่ยนเป็นสีขุ่นหรือสีเดียวกับดินภูเขา
. มีเสียงดังผิดปกติมาจากภูเขาหรือลำห้วย
. มีต้นไม้ขนาดเล็กไหลมาพร้อมกับน้ำ
สัตว์มีพฤติกรรมผิดปกติ
เตรียมรับมืออย่างไรก่อนเกิดดินถล่ม
1. ติดตามพยากรณ์อากาศและประกาศ
NEWS
แจ้งเตือนภัย
2. เตรียมชุดอุปกรณ์ฉุกเฉินให้อยู่ในที่หยิบ
ง่ายและมีสภาพพร้อมใช้เสมอ
3. ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงควรจัดเวรยาม
เฝ้าระวัง ขณะเกิดดินถล่มต้องทําอย่างไร
4. เรียนรู้เส้นทางอพยพจากเจ้าหน้าที่ 1. กรณีอยู่ในบ้านหรืออาคารให้ขึ้นไปหลบที่ชั้นบนสุด
หรือผู้ปกครองอย่างน้อย 2 เส้นทาง หรือหาที่กำบังที่แข็งแรง
เพราะเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งอาจใช้การ 2. การหนีภัยดินถล่ม ให้นำเฉพาะสิ่งของที่จำเป็นติดตัวไป
ไม่ได้ ไม่นำของขนาดใหญ่หรือหนัก เพราะจะทำให้เคลื่อนที่
5. นัดหมายวิธีการติดต่อและสถานที่นัดพบ ไม่สะดวก จากนั้นหนีไปตามเส้นทางที่พ้นจากแนว
ในกรณีพลัดหลงเมื่อเกิดดินถล่ม รวมทั้ง
เรียนรู้วิธีการติดต่อขอความช่วยเหลือ การไหลของดินถล่มแล้วขึ้นไปบนที่สูงหรือที่ปลอดภัย
จากผู้อื่นที่อยู่นอกพื้นที่ประสบภัย หากจำเป็นต้องใช้เส้นทางผ่านทางน้ำให้ใช้เชือกผูกลำตัว
6. สังเกตความผิดปกติของสัญญาณธรรมชาติ แล้วยึดไว้กับต้นไม้หรือสิ่งปลูกสร้างที่มั่นคงแข็งแรง
ที่เป็นสัญญาณเตือนก่อนเกิดดินถล่ม เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกกระแสน้ำที่ไหลเชี่ยวพัดไป
โดยเฉพาะในเวลากลางคืนซึ่งมักเกิด
น้ำหลากและดินถล่ม
หลังเกิดดินถล่มทําอย่างไร
1. ห้ามเข้าใกล้บริเวณที่เกิดดินถล่มหรือบ้านเรือนที่ได้รับความเสียหาย เพื่อป้องกันอันตรายจากการพังทลายซ้ำ
และการเกิดน้ำท่วมหรือดินถล่มซ้ำ
2. สำรวจความเสียหายและผู้ที่อาจได้รับบาดเจ็บแล้วแจ้ง ผู้ปกครองหรือผู้ใหญ่คนอื่น เพื่อหาวิธีแก้ไขและช่วยเหลือ
โดยด่วน
232