Page 236 - คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษาในประเด็นด้านสิทธิเด็กและการรู้รับปรับตัวในภาคการศึกษา
P. 236

นํ้าท่วม (Flood)                                        ใบความรู้ประกอบใบงานสําหรับผู้เรียน



                        น้ำท่วม เป็นภัยที่เกิดจากฝนตกหนักและต่อเนื่องเป็นเวลานาน และการบริหารจัดการน้ำไม่มีประสิทธิภาพ
            ตลอดจนการตัดไม้ทำลายป่า การสร้างถนนกีดขวางทางระบายน้ำ นอกจากนี้น้ำท่วมยังอาจเกิดจากน้ำทะเลหนุนสูง

            ในกรณีพื้นที่อยู่ใกล้ชายฝั่ง
                                                                      สัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดนํ้าป่าไหลหลาก
            สัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดนํ้าท่วม                                 •  ฝนตกหนักต่อเนื่องนานกว่า 6 ชั่วโมง
                  •  ฝนตกหนักต่อเนื่องนานกว่า 6 ชั่วโมง                   •  ระดับน้ำในแม่น้ำเพิ่มขึ้น
                  •  ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น                           •  น้ำในลำน้ำเปลี่ยนเป็นสีขุ่น
                  •  ระดับน้ำในแม่น้ำเพิ่มขึ้น                                 หรือมีสีเดียวกับดินภูเขา
                  •  ระดับน้ำทะเลหนุนสูง                                  •  มีเสียงอื้ออึงจากพื้นที่ป่าต้นน้ำ

                                                                          •  สัตว์ป่ามีพฤติกรรมผิดปกติ

            รับมืออย่างไรก่อนเกิดนํ้าท่วม
                                                                  ขณะเกิดนํ้าท่วมและนํ้าป่าไหลหลาก
            และนํ้าป่าไหลหลาก
                                                                  ต้องทําอย่างไร
                          1. ติดตามพยากรณ์อากาศ                              1. หลีกเลี่ยงการไปดูหรือเล่นบริเวณที่มี

                    NEWS
                          และประกาศเตือนภัย                                      น้ำท่วม
                          2. เตรียมชุดอุปกรณ์ฉุกเฉิน                         2. ปิดสวิตช์ไฟ สับคัทเอ้าท์เพื่อป้องกัน
                 +        ให้อยู่ในที่หยิบง่าย                                  กระแสไฟฟ้ารั่วซึ่งอาจทำให้ถูกไฟฟ้า


                          และมีสภาพพร้อมใช้เสมอ
                          3. เรียนรู้เส้นทางอพยพ                             3. สวมรองเท้าบูทเมื่อต้องเดินในน้ำ เพื่อ
                  N                                                             ดูดได้
                          จากเจ้าหน้าที่หรือผู้ปกครอง
              W   S E                                                            ป้องกันเชื้อโรคที่มากับน้ำ อันตราย
                          4. กำจัดขยะไม่ให้อุดตันท่อระบายน้ำ                   จากสัตว์มีพิษ และวัสดุมีคมที่จมอยู่ใต้น้ำ
                          กำจัดวัชพืชและสิ่งกีดขวางทางน้ำ                    4. ล้างมือและเท้าด้วยสบู่และน้ำสะอาด
                          5. ตรวจสอบกระสอบทราย                                   หลังจากสัมผัสกับน้ำท่วม

                          ให้อยู่ในสภาพมั่นคงแข็งแรง                         5. ไม่เข้าใกล้แนวเสาไฟฟ้าหรือวัตถุที่เป็น
                          6. เก็บหนังสือเรียนและทรัพย์สิน                        สื่อนำไฟฟ้าทุกชนิดเพราะอาจทำให้
                          ส่วนตัวไว้ในที่ปลอดภัย                                 ไฟฟ้าดูด

                          7. นำสัตว์เลี้ยงไปอยู่ในที่ปลอดภัย                 6. เมื่อน้ำเริ่มท่วมสูงให้อพยพออกจาก

                                                                                 พื้นที่ไปตามเส้นทางที่ปลอดภัย
                                                                             7. ระมัดระวังตนเองและปฏิบัติตามคำ
                                                                                 แนะนำของผู้ปกครองอย่างเคร่งครัด










             ทําอะไรได้บ้างหลังเกิดเหตุการณ์นํ้าท่วมและนํ้าป่าไหลหลาก
            1. ตรวจสอบความเสียหายของบ้าน   เครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆ

            2. ให้ผู้ปกครองตรวจสอบว่ามีไฟฟ้ารั่วหรือไม่โดยการดับไฟทุกจุดในบ้าน ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด และยกคัทเอ้าท์ขึ้น

                จากนั้นดูว่าตัวเลขมิเตอร์ไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
            3. ทำความสะอาดและซ่อมแซมบ้าน




      231
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241