Page 238 - คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษาในประเด็นด้านสิทธิเด็กและการรู้รับปรับตัวในภาคการศึกษา
P. 238
แผ่นดินไหว (Earthquake) ใบความรู้ประกอบใบงานสําหรับผู้เรียน
แผ่นดินไหว เป็นเหตุการณ์ทางธรรมชาติ
ที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก ทำให้
เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน การสั่นสะเทือน
จะมีความรุนแรงและทำให้เกิดความเสียหายต่อ
ชีวิตและทรัพย์สินเพียงใด ขึ้นอยู่กับระดับความ
รุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นๆ
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว คือบริเวณ
รอยเลื่อนและรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก
สังเกตสัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวเป็นเหตุการณ์ทางธรรมชาติที่ไมสามารถ ทําอย่างไรขณะเกิดแผ่นดินไหว
พยากรณีล่วงหน้าได้ว่าจะเกิดเมื่อใด แต่อาจ 1. ออกมาในที่โล่งแจ้งห่างไกลจากเสาไฟฟ้า
สามารถสังเกตได้จากเหตุการณ์รอบตัวดังนี้ ป้ายโฆษณา หรือต้นไม้สูง เพื่อป้องกันการ
• น้ำในแม่น้ำมีสีขุ่น หักโค่นหรือหล่นมาทับ
• ระดับน้ำเปลี่ยนแปลง 2. กรณีที่อยู่ในอาคารบ้านเรือน หาที่หลบ
• สัตว์มีพฤติกรรมผิดปกติ กำบังในบริเวณที่ปลอดภัย พร้อมใช้มือ
กำบังศีรษะและลำคอ โดยหมอบบริเวณ
การเตรียมรับมือก่อนเกิดแผ่นดินไหว ใต้เฟอร์นิเจอร์ที่แข็งแรง เช่น โต๊ะหรือ
1. เตรียมชุดอุปกรณ์ฉุกเฉิน ให้อยู่ใน เก้าอี้ บริเวณที่มีโครงสร้างแข็งแรง เช่น
ที่หยิบง่ายและมีสภาพพร้อมใช้เสมอ สามเหลี่ยมใต้คาน ช่องว่างรอบอาคาร
2. ตรวจสอบบ้านเรือนและสิ่งของ ที่มั่นคงแข็งแรง ไม่อยู่ใกล้เสา ประตู
เครื่องใช้ต่างๆ ภายในบ้านให้อยู่ใน หน้าต่างกระจก และเฟอร์นิเจอร์ที่สามารถ
สภาพ มั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ล้มลงมาทับได้
อยู่เสมอ 3. ห้ามใช้ลิฟต์โดยสารหรือบันไดหนีไฟ
3. วางสิ่งของที่มีน้ำหนักมากไว้บริเวณ 4. หยุดรถ และจอดรถในบริเวณที่ปลอดภัย
พื้นบ้าน ไม่วางไว้บนตู้หรือที่สูง เพื่อ ห้ามจอดรถบริเวณใต้สะพาน บริเวณ
ป้องกันการหล่นของสิ่งของลงมาทับ ใกล้ป้ายโฆษณา
ผู้ที่อาศัยในบ้านเมื่อเกิดการสั่นสะเทือน
หลังเกิดแผ่นดินไหวทําอย่างไร
1. ตรวจสอบและปิดแก๊สรวมทั้งเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด และห้ามก่อให้เกิดประกายไฟเพื่อป้องกันการระเบิด เนื่องจาก
การรั่วไหลของแก๊ส
2. รีบออกจากอาคารและเคลื่อนย้ายไปตามที่โล่งแจ้งหรือบริเวณจุดรวมพล
3. ติดตามสถานการณ์และปฏิบัติตามผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัด
233