Page 288 - คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษาในประเด็นด้านสิทธิเด็กและการรู้รับปรับตัวในภาคการศึกษา
P. 288

ใบความรู้สําหรับผู้เรียน

                                                          ่
            ตัวอย่าง ของความรุนแรงทีเกิดกับเด็กในครอบครัว




            ความรุนแรงทางร่างกายต่อเด็ก                          ความรุนแรงทางอารมณ์จิตใจต่อเด็ก
             •  ชกต่อยหรือเตะ                                     •  ทำให้เด็กรู้สึกว่าตนเองไม่มีใครรัก ไร้ค่า ไม่คู่ควร ต่ำต้อย
             •  จับตัวเขย่าหรือโยน                                  หรือรู้สึกตกใจกลัว
             •  ตีด้วยวัสดุหรือสิ่งของ

               เช่น ไม้เรียว หรือเข็มขัด
             •  ใช้ไฟจี้หรือใช้น้ำร้อนลวก
             •  จับกดน้ำ บีบรัดคอหรืออุดปากจมูก
               ทำให้หายใจไม่ออก หรือบังคับให้กินหรือดื่มสิ่งที่เป็นพิษ
               หรือเป็นอันตราย


            ความรุนแรงทางเพศต่อเด็ก                               • การดูถูกเหยียดหยาม เยาะเย้ย เปรียบเทียบในลักษณะ
            • การข่มขืน ซึ่งรวมถึง                                  ดูถูก การทำให้เด็กอับอาย และการโยนความผิดให้เด็ก

              การล่วงล้ำทางอวัยวะเพศ                              • การเลือกปฏิบัติ แบ่งแยกกีดกัน การลำเอียงหรือการ
              หรือ ทวารหนัก หรือการ                                 จ้องจับผิดเด็กบางคน

              ร่วมเพศโดยทางปาก                                    •  การตั้งความหวังซึ่งเกินความเป็นไปได้ และไม่เหมาะสม
            • การสำเร็จความใคร่และการกอดจูบลูบไล้ร่างกาย            กับระดับพัฒนาการของเด็กอันเป็นเหตุให้เกิดการกระทำ
            • การให้เด็กได้รับรู้ในสิ่งไม่บังควรทางเพศ และชักนำให้เด็ก    ที่ผลักดัน หรือกดดันต่อตัวเด็ก
               ประพฤติตนในเชิงยั่วยวนทางกามารมณ์ ซึ่งรวมถึงการให้  •  การข่มขู่จนทำให้เด็กหวาดกลัว

               เด็กดู หรือมีส่วนร่วมในการผลิตสื่อลามก


                            ้
            การละเลยทอดทิงเด็ก
            •  เด็กไม่ได้รับอาหารเพียงพอ ขาดเสื้อผ้า และ/หรือไม่มีที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย

            •  เด็กต้องดูแลตนเอง หรือต้องรับหน้าที่ดูแลน้องทั้งที่ตนเองยังมีอายุน้อยเกินควร
            •  เด็กขาดผู้ดูแล ส่งผลให้ประสบอันตรายต่อร่างกาย
            •  พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กหลบหนีไป และทิ้งให้เด็กต้องอยู่กับคนที่ไม่อาจดูแลเด็กได้

            •  ขาดคนเอาใจใส่เมื่อไม่สบายหรือต้องไปหาหมอ เมื่อต้องเข้าโรงเรียน หรือเมื่อเด็ก
               มีความต้องการทางสังคมอื่นๆ

            •  มีการจงใจไม่ให้เด็กมีส่วนในการร่วมสังคมของครอบครัวหรือชุมชน



                         ้
            ท่อง 3 ข้อนีไว้ จําให้แม่น
            ไม่ใช่ความผิดของเด็ก              อย่าเก็บเรื่องนี้ไว้คนเดียว       ระมัดระวังความปลอดภัย

            จำไว้ว่าความรุนแรงในครอบครัว      ให้บอกคนในครอบครัวเมื่อเห็น       ไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับคนอื่นที่ไม่ใช่
            ไม่ใช่ความผิดของเด็ก เรื่องที่เกิดขึ้น   เหตุการณ์การทำร้าย  หรือการใช้   สมาชิกในบ้าน และท่องจำเบอร์
            เป็นเพราะผู้ใหญ่ เด็กทุกคนมีสิทธิ   ความรุนแรงในครอบครัว หรือบอก    สายด่วนเพื่อแจ้งเหตุฉุกเฉิน เหตุด่วน

            ที่จะได้รับความคุ้มครองและความ    ผู้ใหญ่คนอื่นที่ไว้ใจได้  พูดทุกครั้ง   เหตุร้ายไว้
            ปลอดภัยเมื่ออยู่ในบ้าน            ที่ทำได้จนกว่าจะมีคนให้ความสนใจ




      283
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293