Page 13 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 13
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากนี้ไป
ตามฝั่งทะเลพ้นภูเขาและหุบเขาไปแล้ว มีแคว้น
4
ชิดหลีต๋าล้อ (Shi-li-ch’a-ta-lo) ถัดไปทาง
ตะวันออกเฉียงใต้ตอนปากอ่าวเรียกว่าแคว้น
5
เกียมลังเกีย (Kia-mo-lang-kia) ต่อไปจากนี้ไป
ทางทิศตะวันออกเรียกว่าแคว้นโตโลโปตี
(To-lo-po-ti) ต่อไปทิศตะวันออกคือแคว้น
6
อี้เซี้ยน้าโป้ล้อ (I-shang-na-pu-lo) ต่อจากนั้นไป
ทางทิศตะวันออกคือแคว้นม่อออเจียมปอ
7
(Mo-ho-chen-po) ซึ่งเรา (ชาวจีน) เรียกว่า
หลินยี่ (Lin-yi) ถัดไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็น
แคว้นเย่นโมน่า (Yen-nio-na-cheu) ในดินแดน
6 แคว้นนี้ การเดินทางล าบากจะต้องผ่านภูเขา
และห้วยธาร แม้(พระถังซัมจั๋ง)จะมิได้ไปถึงก็จริง
แต่พอทราบขนบธรรมเนียมและขอบเขต
8
อาณาจักร
9
แซมมวล บีล เสนอว่า “โตโลโปตี” คงตรงกับค าว่า “ทวารวดี”
10
11
ในภาษาสันสกฤต ที่แปลว่า “ซึ่งมีประตู” (which has gates) หรือ
13
12
“เมืองที่มีประตูเป็นก าแพง” หรือ “ประกอบด้วยประตู” ภิกษุชาวจีนสมัย
ราชวงศ์ถังอีกรูปหนึ่งที่บันทึกถึงทวารวดีไว้คือ พระอี้จิง (I-Tsing) ซึ่งจาริก
ไปยังอินเดียตามเส้นทางสายแพรไหมทางทะเล (maritime silk road) ในช่วง
พ.ศ. 1214–1238 โดยอาศัยเรือของพ่อค้าล่องผ่านมายังเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ แล้วหยุดแวะพักที่ศรีวิชัย ก่อนเดินทางต่อไปยังแผ่นดินอินเดีย
พระอี้จิงบันทึกไว้ว่า
2