Page 14 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 14
ดิ น แ ด น ท า ง ต ะ วั น อ อ ก ข อ ง
มหาวิทยาลัยนาลันทา (ใกล้เมืองราชคฤห์)
ไกลออกไป 500 โยชน์ เรียกว่า ปัจจันตประเทศ
ฝ่ายตะวันออก ณ ที่สุด (เขตแดน) ถึงเทือกภูเขา
ด าใหญ่ ซึ่งอาจเป็นพรมแดนฝ่ายใต้ของตรุฟัน
(ทิเบต) กล่าวกันว่า (เทือกเขานี้) อยู่ทางทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลจก (เสฉวน)
อาจเดินไปถึงภูเขานี้ได้ในเวลาเดือนกว่า ทางใต้
จากนี้ไปมีบ้านเมืองจดทะเล เรียกว่า แคว้นชิด
หลีต๋าล้อ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของแคว้นนี้
เป็นแคว้นลั่งเกียฉู่ ต่อมาทางตะวันออกคือ
แคว้นตุยโหโปตี้ ต่อไปทางตะวันออกในที่สุดจะ
ถึงแคว้นหลินยี่ (จามปา) พลเมืองของแว่นแคว้น
14
เหล่านี้ทั้งหมดนับถือพระรัตนตรัยเป็นอย่างดี”
ต่อมา ยอร์ช เซเดส์ (George Cœdès) นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส
ได้กล่าวไว้ในหนังสือประชุมศิลาจารึกสยาม ภาคที่ 2 ความว่า “จริงอยู่ค ำว่ำ
15
“ทวำรวดี” พึ่งปรำกฏว่ำเป็นชื่อกรุงศรีอยุธยำ อันสมเด็จพระเจ้ำอู่ทอง
ทรงสร้ำงขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1893 แต่เข้ำใจว่ำพระเจ้ำอู่ทองคงจะได้เอำนำมเก่ำมำ
ขนำนนำมพระนครที่สร้ำงใหม่ กรุงทวำรวดีเก่ำนั้นบำงทีจะอยู่ที่เมือง
16
สุพรรณบุรีหรือเมืองนครปฐมบัดนี้” เพราะแถบภาคกลางของไทยมีจารึก
โบราณและพระพุทธรูปที่มีรูปแบบคล้ายกับศิลปะคุปตะของอินเดีย มีอายุ
17
ราว พ.ศ. 1000–1200 แต่ในช่วงเวลานั้นก็ยังไม่พบจารึกร่วมสมัยที่ระบุว่า
มีบ้านเมืองที่ชื่อทวารวดีอยู่ในเขตดินแดนไทยจริงๆ
3