Page 184 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 184
จ�านวน 4 ข้อ ได้แก่ ชนิดการออกก�าลังกาย ความถี่ในการออกก�าลังกายต่อครั้ง
ความถี่ในการออกก�าลังกายแต่ละสัปดาห์ กิจกรรมทางกายที่ท�าในชีวิตประจ�าวัน
การประเมินสมรรถภาพร่างกาย มีลักษณะปลายเปิดให้ระบุรายละเอียดหรือขยาย
ความได้ ได้แก่ น�้าหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย ลักษณะ งอตัวข้างหน้า ยืนกระโดดไกล
ลุก-นั่ง 30 วินาที งอแขนห้อยตัว วิ่งเก็บของ 10 เมตร วิ่งเร็ว 50 เมตร ความเครียด/
อารมณ์และการจัดการความเครียดและอารมณ์ มีลักษณะเป็นค�าถามปลายปิดให้
เลือกตอบ ได้แก่ ความตระหนักรู้ความเครียด จ�านวน 21 ข้อ แบบประเมิน
ความเครียดและความแข็งแกร่งในชีวิต จ�านวน 12 ข้อ ความทนทานทางอารมณ์
จ�านวน 6 ข้อ พฤติกรรมการเลิกบุหรี่และการจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ มีลักษณะ
เป็นค�าถามปลายปิดให้เลือกตอบ และมีลักษณะปลายเปิดให้ระบุรายละเอียดหรือ
ขยายความได้ ได้แก่ แบบประเมินพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการเลิกบุหรี่ จ�านวน
20 ข้อ แบบติดตามการจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในสถานควบคุม มีลักษณะเป็น
ค�าถามปลายปิดให้เลือกตอบ จ�านวน 20 ข้อ แบบประเมินสุขภาวะโดยรวม
มีลักษณะการประเมินสุขภาวะของตนเองโดยการให้คะแนน ได้แก่ แบบประเมิน
สุขภาพกาย จ�านวน 4 ข้อ แบบประเมินสุขภาพจิตและความพึงพอใจในชีวิต
จ�านวน 4 ข้อ
การตรวจคุณภาพเครื่องมือวิจัย
แบบประเมินทั้งหมดผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
จ�านวน 3 ท่าน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพยาบาล และด้านจิตวิทยาจากกรมพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน จ�านวน 2 ท่าน และอาจารย์พยาบาลช�านาญการ
ด้านส่งเสริมสุขภาพ จ�านวน 1 ท่าน ผู้บริหารกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
กระทรวงยุติธรรม ที่มีประสบการณ์ดูแลเด็กและเยาวชนมานานกว่า 20 ปี จ�านวน
2 ท่าน แบบประเมินทุกชุดมีค่า CVI เท่ากับ 0.93 เท่ากัน
การทดสอบความเชื่อมั่นของชุดแบบประเมิน
1. แบบบันทึกข้อมูลส่วนตัว ประกอบด้วย อายุ เพศ ภูมิล�าเนาก่อนเข้าพัก
ในศูนย์ฝึกและอบรม ระดับการศึกษา ประวัติสุขภาพเบื้องต้น คือ โรคประจ�าตัว
สัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย ชีพจร (ครั้ง/นาที) ประวัติการเจ็บป่วยหรือโรคประจ�าตัว
และประวัติการสูบบุหรี่ ประสบการณ์การเลิกบุหรี่ ฯลฯ จ�านวน 9 ข้อ ใช้เวลา
ประมาณ 5-10 นาที
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 183
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research