Page 182 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 182
และอายุ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ นอกจากนี้ยังพบว่า
ความรู้มีความสัมพันธ์ทางอ้อมกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ พฤติกรรมการ
ออกก�าลังกายและการควบคุมน�้าหนักในระดับต�่าทั้งเพศหญิงและชาย พฤติกรรม
การตรวจสุขภาพประจ�าปีในเพศหญิงอยู่ในระดับต�่า ส่วนเพศชายอยู่ในระดับปานกลาง
พฤติกรรมการบริโภคอยู่ในระดับดีทั้งเพศหญิงและชาย ด้านอายุพบว่า ผู้ที่มีอายุ
มากกว่ามีพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ การควบคุมน�้าหนักสูงกว่ากลุ่มที่มีอายุ
น้อยกว่า และกลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่ามีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพดีกว่ากลุ่มที่
มีการศึกษาต�่ากว่า
Kim, et al. (2004) ศึกษาผลของโครงการส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ ต่อการ
รับรู้ ความรู้และ ความสามารถของเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพในประเทศเกาหลี กลุ่ม
ทดลองเป็นเจ้าหน้าที่จากศูนย์สุขภาพ จ�านวน 728 คนจาก 18 ศูนย์ ซึ่งได้เข้าร่วม
โครงการสาธิตการส่งเสริมสุขภาพ และกลุ่มควบคุมเป็น เจ้าหน้าที่จากศูนย์สุขภาพ
จ�านวน 1,227 คนจาก 36 ศูนย์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถ
เพิ่มสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการอย่างเด่นชัด ขณะเดียวกันยังพบว่ามี
ความเครียดเกิดขึ้นกับกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ เนื่องจากงานที่ได้รับมอบหมาย
เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ ดังนั้นเพื่อให้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพ
มีประสิทธิภาพ จึงมีความจ�าเป็นในการเพิ่มเจ้าหน้าที่ในศูนย์เพื่อรับผิดชอบต่อ
โครงการ
Browm and Moberg (1980) อ้างถึงใน ปาลชาติ ชาวโพธิ์หลวง 2543 :
32) กล่าวว่า สาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานคือ สัมพันธภาพ
ในหน่วยงานสัมพันธภาพระหว่าง ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ร่วมงาน เป็นสาเหตุ
ของความเครียด สัมพันธภาพที่ไม่ดีจะท�าให้เกิดความไว้วางใจต�่า ความช่วยเหลือ
เกื้อกูลต�่า ความสนใจที่จะแก้ปัญหาน้อยลงและความไว้วางใจในบุคคลมีความสัมพันธ์
กับบทบาทที่คลุมเครือ ซึ่งมีผลท�าให้การสั่งการระหว่างบุคคล ไม่มีประสิทธิภาพ
ท�าให้เกิดความเครียดทางใจ และรู้สึกว่าถูกคุกคามเกี่ยวกับงาน และความสุขลดลง
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 181
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research