Page 208 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 208
n (คน) (Min-Max) Mean(SD.)
การช่วยเหลือในขณะเลิกบุหรี่จากพยาบาลหรือ
ทีมสหสาขาวิชาชีพ คือ .............
ค�าพูดให้ก�าลังใจ 22 0-1 0.65±0.49
ค�าแนะน�าพิษภัยยาสูบ 22 0-1 0.55±0.51
ค�าแนะน�าวิธีการเอาชนะความอยากสูบบุหรี่ 22 0-1 0.50±0.51
ค�าชมเสริมก�าลังใจ 22 0-1 0.25±0.44
ความไว้วางใจและเชื่อมั่นว่าเลิกได้ส�าเร็จ 22 0-1 0.55±0.51
ค�าแนะน�าวิธีการปฏิเสธ 22 0-1 0.40±0.50
ท่าทีแสดงให้เห็นการยอมรับคุณค่าในตนเอง 22 0-1 0.35±0.49
โอกาสในการท�ากิจกรรมผ่อนคลายต่างๆ 22 0-1 0.25±0.44
Cumulative
จ�านวน ร้อยละ
ผลการเลิกบุหรี่ในช่วง 3 เดือน และ 6 เดือน percent
ผลการเลิกบุหรี่ ในช่วง 3 เดือน
หยุดแล้วแต่ยังอยากสูบเมื่อเห็นคนอื่นสูบ 22 100.0 100.0
ผลการเลิกบุหรี่ ในช่วง 6 เดือน
เลิกบุหรี่ส�าเร็จแล้ว 18 81.8 81.8
ลดการสูบลง 1 4.5 86.4
ยังไม่เลิกสูบ พยายามต่อไป 3 13.6 100.0
จากตารางที่ 11 พบว่า เด็กและเยาวชนของศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
เยาวชนหญิงบ้านปรานี มีอายุเริ่มต้น สูบบุหรี่สูงสุด 16 ปี ต�่าสุด 9 ปี ค่าเฉลี่ย 12.40
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.96 สูบบุหรี่มานานสูงสุด 6 ปี ต�่าสุด 8 เดือน ค่าเฉลี่ย 2.69
ปี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.95 จ�านวนบุหรี่สูบต่อวัน สูงสุด 80 มวนต่อวัน ต�่าสุด
2 มวนต่อวัน ค่าเฉลี่ย 19.67 มวนต่อวัน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 19.48 ก่อนเข้า
ศูนย์ฝึกฯ ค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่ สูงสุด 500 บาทต่อวัน ต�่าสุด 20 บาทต่อวัน
ค่าเฉลี่ย 132.78 บาทต่อวัน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 105.93 เคยเลิกบุหรี่ได้นาน
สูงสุด 6 ปี ต�่าสุด 2 เดือน ค่าเฉลี่ย 2.58 ปี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.93 ไม่มีสมาชิก
ในครอบครัวสูบบุหรี่ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.1 พี่สูบบุหรี่ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 31.8
บิดา/พี่สูบบุหรี่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 มารดา/ลุง/ป้า/น้า/อา/พี่สูบบุหรี่ 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 4.5 ลุงสูบบุหรี่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 บิดาและปู่สูบบุหรี่ 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 4.5 มารดา/ลุง/พี่/ภรรยาพี่สูบบุหรี่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 ปู่/
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 207
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research