Page 204 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 204
ตารางที่ 10 การวิเคราะห์ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของ
ความเครียด/อารมณ์และการจัดการความเครียด/อารมณ์
ความเครียด/อารมณ์ ก่อนทดลอง หลังทดลอง t p-value
และการจัดการ Min-Max Mean(SD.) Min-Max Mean(SD.)
ความเครียด/อารมณ์
(คะแนนรวม)
ความตระหนักรู้ 2.10-3.19 2.74±0.26 2.38-3.81 3.07±0.33 - -
ความเครียด
ความแข็งแกร่งในชีวิต 2.08-3.08 2.51±0.24 2.00-2.92 2.36±0.26 2.94 0.01
ความทนทานทาง 1.00-4.00 2.73±0.76 1.50-4.00 2.86±0.74 -0.83 0.42
อารมณ์
จากตารางที่ 10 พบว่า ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมอารมณ์ดี
ด้านความเครียดและความแข็งแกร่งในชีวิตของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯ
บ้านปรานี มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจากการ
ทดสอบสมมติฐานด้วย t-test โดยก�าหนดระดับนัยส�าคัญที่ระดับ .05 พบว่าก่อน
และหลังเข้าร่วมกิจกรรมอารมณ์ดี ด้านความทนทานทางอารมณ์ของเด็กและ
เยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯบ้านปรานี มีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน เนื่องจาก เด็กและ
เยาวชนไม่เข้าใจในข้อค�าถาม
ตารางที่ 11 การวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตราฐาน ของลักษณะทั่วไปและประวัติสุขภาพเบื้องต้น
ลักษณะ n (คน) (Min-Max) Mean(SD.)
อายุเริ่มต้นสูบบุหรี่ (ปี) (Min-Max) 22 9-16 12.40±1.96
สูบบุหรี่มานาน (ปี) (Min-Max) 22 0.08-6.00 2.69±1.95
จ�านวนบุหรี่สูบ/วัน (มวน) (Min-Max) 22 2-80 19.67±19.48
ก่อนเข้าศูนย์ฝึกฯค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่ (บาท/วัน) 22 20-500 132.78±105.93
(Min-Max)
เคยเลิกบุหรี่ได้นาน (วัน/เดือน/ปี) (Min-Max) 22 0.02-6.00 2.58±1.93
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 203
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research