Page 212 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 212
ตารางที่ 14 การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการ
ร่วมกิจกรรมปฏิบัติการด้านพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ชอบ ความรู้/ตระหนักรู้
เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคต่อสุขภาพ ด้านสมรรถนะทางกาย ด้านความ
แข็งแกร่งในชีวิตและด้านการจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ของเด็กและเยาวชนของ
ศูนย์ฝึกฯ บ้านปรานี
พฤติกรรม ก่อนทดลอง หลังทดลอง t p-value
การบริโภคอาหาร N Mean (SD.) N Mean (SD.)
อาหารรับประทานทั่วไป 22 2.81±0.29 22 2.78±.38 0.37 0.71
อาหารที่ชอบ 22 2.85±0.26 22 2.70±0.33 2.84 0.01
ความรู้/ตระหนักรู้เกี่ยวกับ 22 3.18±0.65 22 3.72±0.64 -2.83 0.01
พฤติกรรมบริโภคต่อสุขภาพ
พฤติกรรมการออกก�าลังกาย 22 2.62±0.43 22 3.51±0.27 -8.71 0.00
และการท�ากิจกรรมทางกาย
ความแข็งแกร่งในชีวิต 2.08-3.08 2.51±0.24 2.00-2.92 2.36±0.26 2.94 0.01
ความทนทานทางอารมณ์ 1.00-4.00 2.73±0.76 1.50-4.00 2.86±0.74 -0.83 0.42
การจัดสิ่งแวดล้อมปลอด 1.00-5.00 3.10±1.01 2.35-4.65 3.73±0.64 -3.19 0.00
บุหรี่ในศูนย์ฝึกฯ
จากตารางที่ 14 พบว่า ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม Good Food
Good Health พฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารที่ชอบ และการได้รับความรู้และ
ตระหนักรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯ
บ้านปรานี มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจาก
การทดสอบสมมติฐานด้วย t-test โดยก�าหนดระดับนัยส�าคัญที่ระดับ .05 พบว่า
ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม Good Food Good Health พฤติกรรมด้าน
การบริโภคอาหารทั่วไปของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯ บ้านปรานี มีค่าเฉลี่ย
ไม่แตกต่างกัน ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม Fit for health ด้านสมรรถนะทางกาย
ของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯ บ้านปรานี มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมี
นัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมอารมณ์ดี ด้านความเครียด
และความแข็งแกร่งในชีวิตของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯ บ้านปรานี มีค่าเฉลี่ย
แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจากการทดสอบสมมติฐาน
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 211
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research