Page 273 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 273

ตารางที่ 11 สรุปว่าความตระหนักรู้ความเครียด ความแข็งแกร่งในชีวิต
        และความทนทานทางอารมณ์ของเด็กและเยาวชน ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ

        เยาวชนชายบ้านอุเบกขา เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังกิจกรรมปฏิบัติการ
        พบว่า เยาวชนมีความตระหนักรู้ความเครียด และ ความทนทานทางอารมณ์ พบว่า
        คะแนนดีขึ้น พบความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตามล�าดับ
        ส่วนความแข็งแกร่งในชีวิตไม่พบความแตกต่างอย่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
        ที่ระดับ .05


                4.1 ความตระหนักรู้ความเครียด (21 ข้อ)

        ตารางที่ 12 คะแนนรวม ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
        เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของความ
        ตระหนักรู้ความเครียด ในเด็กและเยาวชน ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน
        อุเบกขา (N = 65คน)

                                   ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ   หลังกิจกรรมปฏิบัติการ
         ข้อ       ประเด็น             (N = 65)             (N = 65)
                                Mean± SD.   Min-Max    Mean± SD. Min-Max
          1. ฉันรู้สึกปวดท้อง เวลามีเรื่อง  3.4769 ±   1-4  3.3902 ±  1-4
             ผิดหวัง ไม่ได้อย่างใจ  0.70948             0.89101
          2. ฉันสูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ   2.8 ±   1-5      2.98 ±    1-5
             ตั้งสติ เวลาเผชิญหน้ากับ  0.887             0.724
             เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน
          3. ฉันพูดจาก้าวร้าว ตอบโต้   2.9063 ±   1-4   3.0732 ±   1-4
             เวลาไม่ได้อย่างใจ    0.93806               0.81824
          4. ฉันใช้บุหรี่ และ/หรือเหล้า   2.5538 ±  1-4  3.4634 ±  1-4
             เวลามีเรื่องกลุ้มใจ หรือไม่สบ  1.07574     0.95125
             อารมณ์
          5. ฉันมีที่ปรึกษาที่ไว้วางใจได้   2.53 ±  1-5  3.34 ±    1-4
             คอยให้ค�าแนะน�าเวลามี  0.975                0.693
             ปัญหาในชีวิตประจ�าวัน






       272   พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278