Page 390 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 390
จากตารางที่ 3 สรุปว่า เยาวชนส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 32
มีน�้าหนักเกินระยะเริ่มต้นไปจนถึงอ้วน ร้อยละ 12 ไม่พบที่น�้าหนักต�่ากว่าเกณฑ์
เยาวชนส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจ�าตัวร้อยละ 80 ส่วนที่เหลือร้อยละ 20 มีโรคประจ�า
ตัวเช่น หอบหืดหรือภูมิแพ้ และมีเยาวชนจ�านวนร้อยละ 24 ที่เคยมีประวัติการ
ผ่าตัดจากอุบัติเหตุ
พฤติกรรมบริโภคอาหาร
ตารางที่ 4 คะแนนรวม ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของพฤติกรรม
บริโภคอาหารในเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนมุทิตา (N = 25 คน)
พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่รับประทานทั่วไป รายข้อก่อน และหลัง
กิจกรรมปฏิบัติการ
ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65) หลังกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65)
ข้อ ประเด็น ค่าต�่าสุด- ค่าต�่าสุด-
ค่าเฉลี่ย ล�าดับ ค่าเฉลี่ย ล�าดับ
สูงสุด สูงสุด
1 อาหารปิ้งย่าง 3.2±1.155 2-5 8 3.48±0.91833 1-5 6
2 อาหารทอดทุกชนิด 3.48±0.77 2-5 4 3.32±0.85245 1-4 11
3 อาหารผัดๆ น�้ามัน 2.72±0.843 2-5 14 3.7083±0.80645 2-5 2
4 อาหารต้มไม่ใส่กะทิ 3±0.913 2-5 10 2.6±0.707 1-4 14
5 แกงกะทิทุกชนิด 2.84±0.898 2-5 12 3.375±0.82423 2-5 10
6 อาหารย�าๆ รสจัด 3.48±0.918 1-5 5 2.92±0.862 2-5 13
7 อาหารน�้าพริก ผักจิ้ม 2.92±1.115 1-5 11 3.16±0.943 1-5 12
8 อาหารส�าเร็จรูปเช่น 4.08±1.115 2-5 1 3.4±0.91287 1-4 9
มาม่า ไส้กรอก อาหาร
แช่แข็ง
9 อาหารถุงๆ จากร้าน 2.76±1.052 1-5 13 3.84±0.89815 1-5 1
ข้าวแกง
10 ผลไม้ตามฤดูกาล 3.16±0.898 2-5 9 3.44±1.083 1-5 7
11 ขนมกรุบกรอบซองๆ 3.76±1.091 2-5 3 3.64±0.86023 1-5 4
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 389
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research